36 กลยุทธ์สู่ชัยชนะภาคปฏิบัติ
(ของบุญศักดิ์ แสงระวี)
กลยุทธ์ที่ 1 ปิดฟ้าข้ามทะเล
กลยุทธ์ที่ 2 ล้อมเว่ยช่วยเจ้า : ทำให้ข้าศึกกระจายกำลังแล้วจึงเข้าตี (หาจุดอ่อนให้ได้) : การที่จะแก้กลุ่มได้ ซึ่งจะม้วนยุ่งเป็นปมเป็นเงื่อนนั้นไม่ควรจะดึงทึงเอา โดยไม่ดูอะไรเลย การจะไปช่วยถ้าจะไปช่วยโดยการร่วมต่อสู้ด้วย โดยไม่คิดหน้าหลังก็ไม่มีทางทำให้เหตุการณ์ยุติลงได้ มีแต่การฉวยจุดอ่อนจากฝ่ายตรงข้าม จึงจะทำให้เหตุการณ์เปลี่ยนไปแล้วเกิดประโยชน์กับเรา (เช่น แคว้นเว่ยส่งทหารเข้าตีแคว้นจ้าว โดยการปิดล้อมอยู่นอกเมือง แคว้นจ้าวจึงส่งคนขอความช่วยเหลือจากแคว้นฉี แค้วนฉี ส่งทหารมาแต่ไม่ได้มาทำศึกกับทหารเว่ยที่แคว้นจ้าว แต่กลับย้อนรอยกลับไปตีเมืองของแคว้นเว่ยแทน แค้วนเว่ยจึงต้องถอนทหารกลับมา และทหารแค้วนฉีก็ซุ่มโจมตีจนได้รับชัยชนะ : ซุนปิน)
>>> ยุทธวิธีซุนวูกับธุรกิจ SME การรวมศูนย์กำลังของเราและกระจายกำลังข้าศึก เรารวมเป็นหนึ่ง ข้าศึกกระจายเป็นสิบ เอาสิบไปตีหนึ่ง เรามากข้าศึกน้อย เมื่อเอามากไปตีน้อย พวกที่เรารบด้วยก็มีจำกัด พื้นที่ที่เรากำหนดเป็นสนามรบ ไม่ควรให้รู้ เมื่อมิรู้ ข้าศึกจำต้องเตรียมการมากด้านเมื่อเตรียมการมากด้าน กำลังที่เรารบด้วยก็น้อย กำลังทหารมากน้อยไม่สำคัญ แต่ต้องแยกกำลังข้าศึกให้กระจายออกมา โดยเมื่อเทียบกับ SMEเปรียบได้กับมีกำลังทหารอยู่ในฐานะเสียเปรียบ คงจะไปสู้กำลังของบริษัทใหญ่ๆ ไม่ได้ ถ้า SME คิดจะเอาตัวรอด โดยต้องรวมศูนย์กำลังทั้งหมดบุกเบิกผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะพิเศษ (Niche Market) เข้าตีช่องโหว่ของบริษัทใหญ่ ซึ่งเป็นวิธีการที่ชาญฉลาด
กลยุทธ์ที่ 3 ยืมดาบฆ่าคน : ดึงกำลังพันธมิตรมาใช้ (ซุนกวนร่วมกับเล่าปี่ในศึก เซ็กเพก) เมื่อข้าศึกแจ่มชัด แต่พันธมิตรยังไม่แน่นอน จะต้องชักนำพันธมิตรให้โจมตีข้าศึก เพื่อรักษากำลังของตนเองไว้ มีจุดประสงค์ 2 อย่าง 1 ตนเองไม่ลงมือ ใช้กำลังที่สามโจมตี รักษากำลังของตนเองไว้ 2 ที่สำคัญเรายังสามารถใช้กำลังของข้าศึกไปตีข้าศึกเอง ซึ่งคือ ใช้ทรัพยากรของข้าศึก โจมตีข้าศึกอีกฝ่าย โดยการยุยง นิ่จึงเป็นแก่นแท้ของกลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคน
กลยุทธ์ที่ 4 เอาสบายรอเหนื่อย : นั่งรอเฉยๆ อย่างสบายใจ โดยมีไพร่พลที่สมบูรณ์พร้อม รอให้ข้าศึกมาโจมตี โดยที่ข้าศึกจะเหนื่อยและอ่อนล้า ซึ่งก็คือ ยึดกุมอำนาจเป็นฝ่ายกระทำ เป็นการบังคับให้ข้าศึกตกอยู่ในภาวะยากลำบาก เราอาจไม่ต้องโจมตีโดยตรง แต่ใช้การอดทนรอ ให้ข้าศึกอ่อนแรง (ผู้เข้าสนามรบรอคอยข้าศึกก่อนผู้นั้นย่อมสดชื่น : ซุนวู) จุดหลักคือเป็นการฉกฉวยโอกาส โดยใครมาทีหลังจะเหนื่อยกว่า
กลยุทธ์ที่ 5 ตีชิงตามไฟ : ใช้ศึกในภายนอก ตีข้าซึกในภาวะขับขันให้พ่ายแพ้ไป
กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสียงตะวันออก บุกจริงตะวันตก : สร้างความเข้าใจผิดแก่ข้าศึก
กลยุทธ์ที่ 7 มีในไม่มี : ในการรบไม่ควรให้ข้าศึกค้นพบจุดอ่อนของเรา ด้านหนึ่งแสดงศักยภาพของเราให้ข้าศึกเห็น อีกด้านหนึ่งหาจุดอ่อนของข้าศึกให้ได้แล้ววางแผนโดยสอดคล้องกัน เพื่อขยายผลประโยชน์ของฝ่ายเรา ใช้แข็งตีอ่อน และสู้รบแบบตาต่อตาฟันต่อฟัน
>>> มีในไม่มี คือ กลยุทธ์ความจริงไม่มีแต่แสร้งเป็นมี ให้ข้าศึกยากแก่การวินิจฉัย เข้าใจผิด หากประสงค์ให้กลยุทธ์นี้สำเร็จ ต้องมีเงื่อนไข 2 ประการ
1. ผู้บัญชาการของข้าศึกเป็นคนคิดอะไรง่ายๆ ขี้ระแวง คนทั้ง 2 ประเภทหลงกลได้ง่าย
2. เมื่อข้าศึกไม่สามารถวินิจฉัยได้อย่างทันท่วงที เราต้องอาศัยจังหวะได้ แปลงสิ่งที่ไม่มีให้มีให้ได้ ทำลายล้างข้าศึกให้เสร็จสิ้นในคราวเดียวโดยหลักการแล้ว การเปลี่ยนแปลงจากไม่มีเป็นมี จากอ่อนเป็นแข็ง คือหลักสำคัญของกลยุทธนี้
Blue Ocean
- ไม่ได้เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสูง แต่เป็นการหาไอเดียใหม่ ง่ายๆ ที่บางที่คนมองข้ามแต่ลูกค้าต้องการ อย่าไปปคิดอะไรซับซ้อนหรือเชิง product มากเกินไป
Brand
- Brand Equity ประกอบด้วยกัน 5 ตัว
1. Brand Awareness : ซึ่งเป็นการทำให้คนรู้จัก Brand ของท่าน ยังไม่เกิดการขาย แบ่งเป็น 2 ตัว
1.1 Brand Remind : เป็นการเห็นโฆษณาแล้วแยกออกว่า product อะไร ของบริษัทอะไร
1.2 Brand Recall : เป็นการเห็นโฆษณาแล้วนึกออกว่า product อะไร ของบริษัทอะไร
เช่น ม.พระจอม โฆษณาประกาศรับสมัคร MBA ผู้ประกอบการ เพื่อให้ท่านรับรู้และแยกออกได้ว่าเป็นของม.พระจอม แต่ถ้าเมื่อใดที่ท่านอยากไปท่านจะ recall ทันที เหมือนว่าถ้าจะเรียนแล้วต้องทำอย่างไร ไปเรียนที่ไหน ก็จะ recall มันขึ้นมา หรือคุณเห็นโฆษณาอ.วีระ กับรถโตโยต้า กระบะสู้เศรษฐกิจ แต่ถ้าวันไหนคุณอยากซื้อรถ คุณก็จะ recall มันขึ้นมา เนื่องจาก โตโยต้ามีการสร้างการรับรู้ที่แข็งแกร่งมาก การสร้างการรับรู้
ของ Brand จึงเป็นสิ่งสำคัญในตอนแรก ทำอย่างไรก็ได้ให้ผู้บริโภค recall ถึงเราเป็นอันดับแรก
2. Brand Loyalty
3. Brand Extension : การใช้ Brand ในสินค้าประเภทอื่น
- 7-11 ถือเป็นช่องทางการจัดจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพมาก เหมือนเราออก Product มาแล้วขายเฉพาะที่ 7-11 หรือที่เรียกว่า Only @ 7 ซึ่ง 7-11 จะเอาเรา ก็ต่อเมื่อ เรามี product ที่ดี Price ที่คุ้มค่าคุ้มราคา
- การค้าขายทาง internet หรือ E-comerce เป็นการแก้ไขช่องทางการจัดจำหน่าย แต่ท่านต้องไม่มีช่องทางการค้าปลีกทางร้านค้า ต้องเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่งั้นจะเกิดความขัดแย้งในช่องทางการจัดจำหน่าย
- ในทางการตลาด จะมีระดับของการยอมรับสินค้า
1. นวัตกร : รับคนแรกเลย มีอยู่ 5%
2. Early Adopter : ผู้รับแรกๆ ประมาณ 12% ซึ่งกลุ่มนี้แหล่ะ จะเป็นตัวกระจาย
Customer Behavior
พฤติกรรมผู้บริโภค
- ในกระบวนการตัดสินใจจะซื้อสินค้าและบริการจะมีตัวละคร 5 ตัว
1. ผู้ริเริ่ม (Initiative) เช่น เวลาเราจะไปเที่ยว จะมีคนที่บอกว่า เฮ้ย เราไปเที่ยวกันเถอะ
2. ผู้มิอิทธิพล (Influencer) เช่น ไปเที่ยวทะเลละกัน
3. ผู้ตัดสินใจ (Deciser) เช่น มีเพื่อนอีกคนงั้นสรุปว่าเราไปกระบี่ละกัน
4. ผู้ซื้อ (Buyer) เช่น ผู้จ่ายเงินจริง ทำธุรกรรม
5. ผู้ใช้ (User) เช่น คนที่ไปเที่ยวด้วย
- ซึ่งวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคจะมีความสำคัญ ในการเชื่อมต่อไปยังเส้นทางหนึ่งในกลยุทธ์ของ Blue Ocean
- ซึ่งการจะเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค เราจะต้องเน้นไปที่ ผู้มีอิทธิพล (Influencer) ต่อตลาด เพื่อจะไปเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ซื้อ (Buyer) โดยมาดูว่าคนไหนมีอิทธิพลกับคนกลุ่มไหน
Down turn is your turn
- ช่วงที่แย่ๆ จะเปลี่ยนเป็นจังหวะของคุณ
- แล้วคุณจะทำอย่างไรที่จะกระตุ้นให้ลูกค้ามาซื้อสินค้าของคุณ คูณจะต้อง Provoke (เรียก ท้าออกมาข้างหน้า ออกมานอกบ้าน ออกมาซื้อของกับเรา ทั้งๆ ที่ไม่อยากซื้อ)
IDEA
- เป็นอะไรที่เรารู้ๆ กันอยู่ แต่เป็นการหาวิธีนำเสนอแบบใหม่ แตกต่าง อย่างที่คนคาดไม่ถึง
- เป็นการเชื่อมโยงความคิดที่กระจัดกระจาย เพื่อนำไปสู่ความคิดใหม่
- ไอเดียที่ประสบความสำเร็จต้องมีความแตกต่างจากคู่แข่ง และรู้จักวิธีนำเสนออย่างแตกต่าง ซึ่งแตกต่างจากคู่แข่ง
- การผสมของเก่าที่มีอยู่แล้ว หรือ คือการสังเคราะห์ความซับซ้อนให้ลงมาสู่ความเรียบง่าย
- แล้วท่านจะหามาจากไหน
1. ท่านล้อมรอบด้วยผู้คนที่มีไอเดียหรือไม่ ซึ่งฟังแล้วท่านจะเกิดความคิด
2. อ่านหนังสือ
- ในช่วงเวลานี้สิ่งสำคัญที่สุด คือ เรื่องไอเดีย เพราะในสถานการณ์ยากลำบาก เราจะทำเหมือนเดิมไม่ได้
- บ่อเกิดของไอเดีย คือ ต้องคิดใหม่กับความคิดของท่านเอง สิ่งที่ทำมาแล้ว ท่านยังทำอยู่ได้อีกหรือไม่
- วิธีคิดของท่านมันจะส่งผลกระทบเกี่ยวกับสิ่งที่ท่านคิด และประเภทวิธีคิด เช่น เวลาเรามองอะไร มองในแง่ข้อจำกัด มองโลกในแง่ร้าย มันจะกระทบเรื่องที่เราคิด เราจะคิดแต่ในเรื่องที่คนอื่นทำไปแล้ว ไม่มีอะไรใหม่
- วิธีคิดแบบหนึ่ง คือ การคิดในเชิงภาพ
- วิธีคิดของเราจะกระทบกับสิ่งที่เราคิด
- การคิดในเชิงภาพ เป็นเคล็ดลับสำคัญของนักคิดระดับโลก เช่น leonardo davinci, Albert Einstein
>>> ซิกมัน ฟรอย : พยายามจับ concept ความคิดในจิตใต้สำนึกของเรา โดยใช้การ์ตูน 2 ช่อง
- Feature of Speech คือ การใช้คำพูดแล้วทำให้คนฟังเกิดภาพในใจ แล้วคิดตาม
- เวลาท่านเกิดปัญหา ให้ท่านคิดออกมาในเชิงภาพ (Visualize) แทนที่จะคิดในเชิงคำพูด (Verbelize) เมื่อท่านเห็นในเชิงภาพ จะรู้ว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร การคิดในเชิงภาพก็คือ ท่านลองดูว่าปัญหาที่เผชิญมันคล้ายกับอะไรถ้าออกมาในเชิงภาพ อาจจะเชื่อมโยงกับปัญหาเก่า หรือกรณีอื่นๆ ที่เราเคยมีประสบการณ์มาแล้ว
- ถ้าท่านจะทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จในเวลานี้ คือ ฉลาดกว่า (Out Smart) ทำในสิ่งที่คู่แข่งขันไม่ทำ
- สิ่งที่ต้องให้ความสนใจในการทำธุรกิจ 3C (แนวความคิดของ ดร.เคนอิชิ โอมาเอะ)
1. Company : ตัวบริษัทของท่านเองจากนี้ไปจะเป็นอะไร
2. Customer : สำคัญที่สุด คือใคร อยู่ไหน
- การฟัง เป็นการหา idea อีกวิธีหนึ่ง แต่ข้อแรกคือ ต้องหุบปากแล้วเปิดหูฟัง ต้องเป็นการ Active
Listening
- เวลาที่คุณจะไปทำสินค้าที่เป็นจุดเปลี่ยนของบริษัท (Game Changer Product) ต้องมีแนวความคิดว่าลูกค้าคือ นายใหญ่ นั่นก็คือ นายใหญ่คือคนที่สั่งเรา เราต้องไปดูว่าใครคือนายใหญ่ ต้องการอะไร แรงบันดาลใจ และความต้องการคืออะไร ทั้งที่เขาพูดและไม่ได้พูด ต้องถามและฟัง เพื่อหา customer insight
- ซึ่งการฟังแบบ Active ต้องเรียกร้องการ โฟกัสในสิ่งที่ลูกค้าพูดออกมา โดยการมองตาเขา ให้ความสนใจกับสารที่เขาส่งมา แล้วนำสิ่งที่เขาพูดมาปรับปรุงปฏิบัติ
- การฟังที่ดี ในขณะที่คนอื่นพูด จะต้องฝึกจับใจความให้ได้
- Sales ที่ดี ไม่ใช่พูดเก่ง แต่ต้องเป็นคนที่รับฟังเก่งต่างหาก เพื่อรับฟังลูกค้า จะได้เข้าใจลูกค้าว่าลูกค้าต้องการอะไร ไม่ใช่ยัดเยียดขายในสิ่งที่ คุณอยากขาย ไม่ได้ขายในสิ่งที่ลูกค้าต้องการ (คนอยากฟังในสิ่งที่เขาต้องการฟัง ไม่ได้อยากฟังในสิ่งที่คุณต้องการพูด)
- ถ้าคุณเป็นคนชอบพูด แล้วจะฟังอย่างไร
>> ฝึกฟังอย่างแท้จริง โดยการ focus ไปที่คำแต่ละคำ
บาปที่เกิดจากการฟัง 7 ประการ
1. มีอคติ ต่อสิ่งที่ผู้พูดกำลังพูดอยู่
2. ทำท่าทางไม่สนใจ ไม่ใยดี
3. ไม่ได้สนใจ ในขณะที่คนอื่นพูด คิดอยู่ว่าตัวเองจะพูดอะไรต่อไป
4. ขัดจังหวะผู้อื่น
5. ทำให้คนอื่นเสียสมาธิ
6. ไปหยุดความคิดของผู้อื่นที่กำลังพูด คือการทำให้ประเด็นไม่มีคุณค่า
7. ปิด
Marketing
- Value for money marketing คือ การทำสินค้าให้คุ้มค่า คุ้มราคา ซึ่งในยามที่เศรษฐกิจถดถอย สินค้าคุ้มค่า คุ้มราคาไม่ใช่สินค้าราคาถูก
- บรรจุภัณฑ์ เท่ากับ ตัวสินค้า เหมือนเครื่องแต่งกาย เท่ากับ ตัวท่านเอง ซึ่งประเทศที่ทำบรรจุภัณฑ์เก่งคือ ญี่ปุ่น
- สินค้าบางตัว ขายไม่ออก ขายไม่ดี เพราะผู้บริโภคไม่ทราบถึงคุณประโยชน์ของสินค้า จึงทำให้เราต้องให้ความรู้ (educate) แก่ผู้บริโภคอย่างเช่น beauty drink ที่ขาย 7-11 ช่งแรกขายไม่ดี แต่พอเปลี่ยน package และบอกถึงคุณประโยชน์ของเครื่องดื่ม จึงกลับมามียอดขายอันดับหนึ่งใน 7-11 ประเภทน้ำผลไม้
- การแจกของ ควรแจกให้กับผู้หญิง เพราะจะแบ่งแจกคนอื่นต่อๆไป
- ในเชิงการสื่อสารทางการตลาด พอเรามีสารจะสื่อแล้ว รายละเอียดที่เราจะพูดต่อไปสำคัญที่สุดซึ่งต้องมีชั้นเชิง เนื่องจากสารที่จะสื่อทุกคนทุกเจ้าก็มีเหมือนกัน เราจะทำอย่างไรให้คนเชื่อ
- การตัดสินใจทางการตลาดที่สำคัญที่สุด ที่คุณสามารถทำได้ คือ คุณจะตั้งชื่อสินค้าว่าอย่างไร
- ข้อห้ามทางการตลาด การ Branding สินค้า โดยใช้อายุ
- Generic Name คือ การเลือกชื่อยี่ห้อ แทนประเภทหมวดหมู่สินค้านั้นๆ เช่น แฟ้บ แทนผงซักฟอก
- Functional Brand คือ การเรียกชื่อยี้ห้อนั้น แล้วรู้ทันทีว่าคือสินค้าอะไร แต่ไม่ได้แทนหมวดหมู่สินค้านั้น เช่น เทนโซพาส ไม่ได้แทนคำว่าพลาสเตอร์ แต่รู้ว่าเป็นที่ปิดแผล
Marketing In the down Turn
- บริษัทจะต้องทำความเข้าใจ เราต้องรู้ธรรมชาติของลูกค้า รู้ว่าพฤติกรรมการของลูกค้าเปลี่ยนไปหรือเปล่า พอรู้ว่าเปลี่ยนปุ๊บ ท่านจะต้องปรับ
1. ปรับสินค้าหรือบริการ (Offering) P ตัวที่ 1
2. ปรับการสื่อสาร P ตัวที่ 4
ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป
- จิตวิทยาในช่วงเศรษฐกิจถดถอยเป็นอย่างไร
1. คนจะซื้อของขึ้นอยู่กับ รายได้ที่เหลือจากการหักค่าใช้จ่ายต่างๆ ไม่มีพันธะผูกพัน (Disposable Income) ว่าเหลือเท่าไหร่
2. ผู้บริโภคจะใช้จ่ายหรือไม่ ขึ้นกับว่ามั่นใจในอนาคตหรือไม่
3. คนจะไว้ใจในบริษัท และเศรษฐกิจหรือไม่ ว่าสามารถอยู่รอดได้หรือไม่ จากนั้นผู้บริโภคจะปรับ life style ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป
- เศรษฐกิจแบบนี้ การ segment ลูกค้าจะต้องเปลี่ยนไปด้วย ต้องมานั่งทบทวนใหม่
PR
- การสื่อสารการตลาด การใช้สื่อสมัยใหม่เป็นเรื่องสำคัญ เพราะ new media ตอนนี้จะเป็นแบบ online, social network, social media เป็นสื่อสองทาง ซึ่งสามารถให้คนโต้ตอบกันได้ ซึ่งแบบเก่า จะดู จะอ่าน บริโภคสื่อข้างเดียว
- Longtail Marketing ซึ่งถ้ามาอธิบายเกี่ยวกับใช้สื่อ ก็คือ โดยปกติสื่อทั่วไปจะเรียกว่า Head tail เข้าถึงคนทีเดียวได้จำนวนแยะ ไม่ว่าจะเป็นTV วิทยุ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ซึ่งข้อจำกัดมีไม่กี่อย่าง แต่พอมี internet ข้อจำกัดในเรื่องของช่องทางมันหายไป เพราะ website เล็กๆ ที่เหมือนเป็นหางก็สามารถมีอิทธิพลได้
Theory of Businesss
- Theory of Business (Peter Drucker) : ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริง แบ่งเป็นสมมติฐาน 3 ตัว
1. สมมติฐานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต้องสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
2. สมมติฐานเกี่ยวกับ mission ที่เราจะทำ บริษัทมีเป้าหมายทำอะไร ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริง
3. สมมติฐานเกี่ยวกับความเชี่ยวชาญหลัก (Core Competency) ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริง
* ทั้ง 3 ตัว ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริงและไปด้วยกันได้ด้วยกันทั้ง 3 ข้อ
War in the boardroom
เป็นหนังสือของ อารี และลอร่ารี (AL & Laura Ries) เกี่ยวกับ ทัศนคติแนวความคิดของ CEO (ที่เป็นผู้บริหารและการจัดการ) และ CMO (เป็นฝ่ายการตลาด) ซึ่งมักจะมีทัศนคติและแนวคิดที่ขัดแย้งกัน ฝ่ายบริหารคิดเชิงเหตุผล และฝ่ายการตลาดคิดเชิงสร้างสรรค์
>>> เมื่อ CEO ไม่มี Marketing Sence เนื่องจาก พวกผู้บริหารเวลาจะตัดสินใจจะทำอะไร ต้องมีข้อมูลการวิจัย ต่างๆ มา support เกือบ 99% และที่เหลืออีก 1% ที่สำคัญที่จะทำให้ประสบความสำเร็จคือ Marketing Sense
>>> ตัวอย่าง CEO ที่มี Marketing sence คือ คุณตัน โอเอชิ, คุณเทียม โชควัฒนา
none
- ช่วงนี้ขายของต้องออกโปรโมชั่น ที่ให้ผู้บริโภครู้สึกว่าคุ้ม จะได้ขายได้
- Creative Economy : เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ที่มีไอเดีย เป็นตัวขับเคลื่อน
- จัดกลุ่มลูกค้า และบริการเฉพาะกลุ่มนั้นๆ
- ถ้าอยากเก่งการตลาด ในสภาววะแบบนี้ต้องออกไปดูคนว่ามีพฤติกรรมเปลี่ยนไปอย่างไร
- ตอนนี้ท่านจะต้องเลือกลูกค้า และจัดการบริการไปตาม Volumn ของลูกค้า (Service Level) หรือเรียกว่าการ segment
- Managing Up : การบริหารเจ้านาย
- ในตลาดเฉพาะเล็กๆ มีคนรวย มีคนมั่งคั่งอยู่ จงไปหาเขา (Philip Kotler)
- ธุรกิจที่สวนกระแส ประสบความสำเร็จในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ เช่น แสนสิริ ต้องเล่น Promotion ที่ถึงพร้อม
- ในช่วงวิกฤต จะเป็นช่วงที่ดีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานของพนักงานริษัท
- ในโลกนี้มีคน 2 ประเภท
จากนักเขียนคนหนึ่ง
>> ประเภทหนึ่งมาถึงห้องแล้วบอกว่า เฮ้ย ฉันมาแล้ว
>> อีกประเภทหนึ่ง มาถึงห้องแล้วบอกว่า เฮ้ย มากันพร้อมหน้าเชียวนะ
ส่วนนางอินทิรา คานธี ให้คำจำกัดความคน 2 ประเภท
>> ประเภทหนึ่งคนที่ทำงานหนัก
>> อีกประเภทหนึ่ง คือคนที่ไม่ทำงาน ให้คนอื่นทำ แล้วมาเอา credit เอาหน้าไป
จงเป็นมนุษย์ประเภทแรก เพราะประเภทหลังมีแยะแล้ว
- ในสภาพเศรษฐกิขช่วงนี้ ต้องใช้กลยุทธ์ทางการเงินจัดเป็นโปรโมชั่นให้กับสินค้า
- Blue Ocean คือ ไม่ต้องสนใจเรื่องการแข่งขัน แต่เป็นการสร้างมูลค่าใหม่บนพื้นฐานความต้องการของลูกค้า
- ผู้นำมี 4 ระดับ (จากคัมภีร์ เต๋าเต็กเก๋ง)
ระดับที่ 1 ผู้นำที่คนเทิดทูน
ระดับที่ 2 ผู้นำที่คนรัก
ระดับที่ 3 ผู้นำที่คนกลัว
ระดับที่ 4 ผู้นำที่คนเกลียด
(ของบุญศักดิ์ แสงระวี)
กลยุทธ์ที่ 1 ปิดฟ้าข้ามทะเล
กลยุทธ์ที่ 2 ล้อมเว่ยช่วยเจ้า : ทำให้ข้าศึกกระจายกำลังแล้วจึงเข้าตี (หาจุดอ่อนให้ได้) : การที่จะแก้กลุ่มได้ ซึ่งจะม้วนยุ่งเป็นปมเป็นเงื่อนนั้นไม่ควรจะดึงทึงเอา โดยไม่ดูอะไรเลย การจะไปช่วยถ้าจะไปช่วยโดยการร่วมต่อสู้ด้วย โดยไม่คิดหน้าหลังก็ไม่มีทางทำให้เหตุการณ์ยุติลงได้ มีแต่การฉวยจุดอ่อนจากฝ่ายตรงข้าม จึงจะทำให้เหตุการณ์เปลี่ยนไปแล้วเกิดประโยชน์กับเรา (เช่น แคว้นเว่ยส่งทหารเข้าตีแคว้นจ้าว โดยการปิดล้อมอยู่นอกเมือง แคว้นจ้าวจึงส่งคนขอความช่วยเหลือจากแคว้นฉี แค้วนฉี ส่งทหารมาแต่ไม่ได้มาทำศึกกับทหารเว่ยที่แคว้นจ้าว แต่กลับย้อนรอยกลับไปตีเมืองของแคว้นเว่ยแทน แค้วนเว่ยจึงต้องถอนทหารกลับมา และทหารแค้วนฉีก็ซุ่มโจมตีจนได้รับชัยชนะ : ซุนปิน)
>>> ยุทธวิธีซุนวูกับธุรกิจ SME การรวมศูนย์กำลังของเราและกระจายกำลังข้าศึก เรารวมเป็นหนึ่ง ข้าศึกกระจายเป็นสิบ เอาสิบไปตีหนึ่ง เรามากข้าศึกน้อย เมื่อเอามากไปตีน้อย พวกที่เรารบด้วยก็มีจำกัด พื้นที่ที่เรากำหนดเป็นสนามรบ ไม่ควรให้รู้ เมื่อมิรู้ ข้าศึกจำต้องเตรียมการมากด้านเมื่อเตรียมการมากด้าน กำลังที่เรารบด้วยก็น้อย กำลังทหารมากน้อยไม่สำคัญ แต่ต้องแยกกำลังข้าศึกให้กระจายออกมา โดยเมื่อเทียบกับ SMEเปรียบได้กับมีกำลังทหารอยู่ในฐานะเสียเปรียบ คงจะไปสู้กำลังของบริษัทใหญ่ๆ ไม่ได้ ถ้า SME คิดจะเอาตัวรอด โดยต้องรวมศูนย์กำลังทั้งหมดบุกเบิกผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะพิเศษ (Niche Market) เข้าตีช่องโหว่ของบริษัทใหญ่ ซึ่งเป็นวิธีการที่ชาญฉลาด
กลยุทธ์ที่ 3 ยืมดาบฆ่าคน : ดึงกำลังพันธมิตรมาใช้ (ซุนกวนร่วมกับเล่าปี่ในศึก เซ็กเพก) เมื่อข้าศึกแจ่มชัด แต่พันธมิตรยังไม่แน่นอน จะต้องชักนำพันธมิตรให้โจมตีข้าศึก เพื่อรักษากำลังของตนเองไว้ มีจุดประสงค์ 2 อย่าง 1 ตนเองไม่ลงมือ ใช้กำลังที่สามโจมตี รักษากำลังของตนเองไว้ 2 ที่สำคัญเรายังสามารถใช้กำลังของข้าศึกไปตีข้าศึกเอง ซึ่งคือ ใช้ทรัพยากรของข้าศึก โจมตีข้าศึกอีกฝ่าย โดยการยุยง นิ่จึงเป็นแก่นแท้ของกลยุทธ์ยืมดาบฆ่าคน
กลยุทธ์ที่ 4 เอาสบายรอเหนื่อย : นั่งรอเฉยๆ อย่างสบายใจ โดยมีไพร่พลที่สมบูรณ์พร้อม รอให้ข้าศึกมาโจมตี โดยที่ข้าศึกจะเหนื่อยและอ่อนล้า ซึ่งก็คือ ยึดกุมอำนาจเป็นฝ่ายกระทำ เป็นการบังคับให้ข้าศึกตกอยู่ในภาวะยากลำบาก เราอาจไม่ต้องโจมตีโดยตรง แต่ใช้การอดทนรอ ให้ข้าศึกอ่อนแรง (ผู้เข้าสนามรบรอคอยข้าศึกก่อนผู้นั้นย่อมสดชื่น : ซุนวู) จุดหลักคือเป็นการฉกฉวยโอกาส โดยใครมาทีหลังจะเหนื่อยกว่า
กลยุทธ์ที่ 5 ตีชิงตามไฟ : ใช้ศึกในภายนอก ตีข้าซึกในภาวะขับขันให้พ่ายแพ้ไป
กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสียงตะวันออก บุกจริงตะวันตก : สร้างความเข้าใจผิดแก่ข้าศึก
กลยุทธ์ที่ 7 มีในไม่มี : ในการรบไม่ควรให้ข้าศึกค้นพบจุดอ่อนของเรา ด้านหนึ่งแสดงศักยภาพของเราให้ข้าศึกเห็น อีกด้านหนึ่งหาจุดอ่อนของข้าศึกให้ได้แล้ววางแผนโดยสอดคล้องกัน เพื่อขยายผลประโยชน์ของฝ่ายเรา ใช้แข็งตีอ่อน และสู้รบแบบตาต่อตาฟันต่อฟัน
>>> มีในไม่มี คือ กลยุทธ์ความจริงไม่มีแต่แสร้งเป็นมี ให้ข้าศึกยากแก่การวินิจฉัย เข้าใจผิด หากประสงค์ให้กลยุทธ์นี้สำเร็จ ต้องมีเงื่อนไข 2 ประการ
1. ผู้บัญชาการของข้าศึกเป็นคนคิดอะไรง่ายๆ ขี้ระแวง คนทั้ง 2 ประเภทหลงกลได้ง่าย
2. เมื่อข้าศึกไม่สามารถวินิจฉัยได้อย่างทันท่วงที เราต้องอาศัยจังหวะได้ แปลงสิ่งที่ไม่มีให้มีให้ได้ ทำลายล้างข้าศึกให้เสร็จสิ้นในคราวเดียวโดยหลักการแล้ว การเปลี่ยนแปลงจากไม่มีเป็นมี จากอ่อนเป็นแข็ง คือหลักสำคัญของกลยุทธนี้
Blue Ocean
- ไม่ได้เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสูง แต่เป็นการหาไอเดียใหม่ ง่ายๆ ที่บางที่คนมองข้ามแต่ลูกค้าต้องการ อย่าไปปคิดอะไรซับซ้อนหรือเชิง product มากเกินไป
Brand
- Brand Equity ประกอบด้วยกัน 5 ตัว
1. Brand Awareness : ซึ่งเป็นการทำให้คนรู้จัก Brand ของท่าน ยังไม่เกิดการขาย แบ่งเป็น 2 ตัว
1.1 Brand Remind : เป็นการเห็นโฆษณาแล้วแยกออกว่า product อะไร ของบริษัทอะไร
1.2 Brand Recall : เป็นการเห็นโฆษณาแล้วนึกออกว่า product อะไร ของบริษัทอะไร
เช่น ม.พระจอม โฆษณาประกาศรับสมัคร MBA ผู้ประกอบการ เพื่อให้ท่านรับรู้และแยกออกได้ว่าเป็นของม.พระจอม แต่ถ้าเมื่อใดที่ท่านอยากไปท่านจะ recall ทันที เหมือนว่าถ้าจะเรียนแล้วต้องทำอย่างไร ไปเรียนที่ไหน ก็จะ recall มันขึ้นมา หรือคุณเห็นโฆษณาอ.วีระ กับรถโตโยต้า กระบะสู้เศรษฐกิจ แต่ถ้าวันไหนคุณอยากซื้อรถ คุณก็จะ recall มันขึ้นมา เนื่องจาก โตโยต้ามีการสร้างการรับรู้ที่แข็งแกร่งมาก การสร้างการรับรู้
ของ Brand จึงเป็นสิ่งสำคัญในตอนแรก ทำอย่างไรก็ได้ให้ผู้บริโภค recall ถึงเราเป็นอันดับแรก
2. Brand Loyalty
3. Brand Extension : การใช้ Brand ในสินค้าประเภทอื่น
- 7-11 ถือเป็นช่องทางการจัดจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพมาก เหมือนเราออก Product มาแล้วขายเฉพาะที่ 7-11 หรือที่เรียกว่า Only @ 7 ซึ่ง 7-11 จะเอาเรา ก็ต่อเมื่อ เรามี product ที่ดี Price ที่คุ้มค่าคุ้มราคา
- การค้าขายทาง internet หรือ E-comerce เป็นการแก้ไขช่องทางการจัดจำหน่าย แต่ท่านต้องไม่มีช่องทางการค้าปลีกทางร้านค้า ต้องเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่งั้นจะเกิดความขัดแย้งในช่องทางการจัดจำหน่าย
- ในทางการตลาด จะมีระดับของการยอมรับสินค้า
1. นวัตกร : รับคนแรกเลย มีอยู่ 5%
2. Early Adopter : ผู้รับแรกๆ ประมาณ 12% ซึ่งกลุ่มนี้แหล่ะ จะเป็นตัวกระจาย
Customer Behavior
พฤติกรรมผู้บริโภค
- ในกระบวนการตัดสินใจจะซื้อสินค้าและบริการจะมีตัวละคร 5 ตัว
1. ผู้ริเริ่ม (Initiative) เช่น เวลาเราจะไปเที่ยว จะมีคนที่บอกว่า เฮ้ย เราไปเที่ยวกันเถอะ
2. ผู้มิอิทธิพล (Influencer) เช่น ไปเที่ยวทะเลละกัน
3. ผู้ตัดสินใจ (Deciser) เช่น มีเพื่อนอีกคนงั้นสรุปว่าเราไปกระบี่ละกัน
4. ผู้ซื้อ (Buyer) เช่น ผู้จ่ายเงินจริง ทำธุรกรรม
5. ผู้ใช้ (User) เช่น คนที่ไปเที่ยวด้วย
- ซึ่งวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคจะมีความสำคัญ ในการเชื่อมต่อไปยังเส้นทางหนึ่งในกลยุทธ์ของ Blue Ocean
- ซึ่งการจะเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค เราจะต้องเน้นไปที่ ผู้มีอิทธิพล (Influencer) ต่อตลาด เพื่อจะไปเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ซื้อ (Buyer) โดยมาดูว่าคนไหนมีอิทธิพลกับคนกลุ่มไหน
Down turn is your turn
- ช่วงที่แย่ๆ จะเปลี่ยนเป็นจังหวะของคุณ
- แล้วคุณจะทำอย่างไรที่จะกระตุ้นให้ลูกค้ามาซื้อสินค้าของคุณ คูณจะต้อง Provoke (เรียก ท้าออกมาข้างหน้า ออกมานอกบ้าน ออกมาซื้อของกับเรา ทั้งๆ ที่ไม่อยากซื้อ)
IDEA
- เป็นอะไรที่เรารู้ๆ กันอยู่ แต่เป็นการหาวิธีนำเสนอแบบใหม่ แตกต่าง อย่างที่คนคาดไม่ถึง
- เป็นการเชื่อมโยงความคิดที่กระจัดกระจาย เพื่อนำไปสู่ความคิดใหม่
- ไอเดียที่ประสบความสำเร็จต้องมีความแตกต่างจากคู่แข่ง และรู้จักวิธีนำเสนออย่างแตกต่าง ซึ่งแตกต่างจากคู่แข่ง
- การผสมของเก่าที่มีอยู่แล้ว หรือ คือการสังเคราะห์ความซับซ้อนให้ลงมาสู่ความเรียบง่าย
- แล้วท่านจะหามาจากไหน
1. ท่านล้อมรอบด้วยผู้คนที่มีไอเดียหรือไม่ ซึ่งฟังแล้วท่านจะเกิดความคิด
2. อ่านหนังสือ
- ในช่วงเวลานี้สิ่งสำคัญที่สุด คือ เรื่องไอเดีย เพราะในสถานการณ์ยากลำบาก เราจะทำเหมือนเดิมไม่ได้
- บ่อเกิดของไอเดีย คือ ต้องคิดใหม่กับความคิดของท่านเอง สิ่งที่ทำมาแล้ว ท่านยังทำอยู่ได้อีกหรือไม่
- วิธีคิดของท่านมันจะส่งผลกระทบเกี่ยวกับสิ่งที่ท่านคิด และประเภทวิธีคิด เช่น เวลาเรามองอะไร มองในแง่ข้อจำกัด มองโลกในแง่ร้าย มันจะกระทบเรื่องที่เราคิด เราจะคิดแต่ในเรื่องที่คนอื่นทำไปแล้ว ไม่มีอะไรใหม่
- วิธีคิดแบบหนึ่ง คือ การคิดในเชิงภาพ
- วิธีคิดของเราจะกระทบกับสิ่งที่เราคิด
- การคิดในเชิงภาพ เป็นเคล็ดลับสำคัญของนักคิดระดับโลก เช่น leonardo davinci, Albert Einstein
>>> ซิกมัน ฟรอย : พยายามจับ concept ความคิดในจิตใต้สำนึกของเรา โดยใช้การ์ตูน 2 ช่อง
- Feature of Speech คือ การใช้คำพูดแล้วทำให้คนฟังเกิดภาพในใจ แล้วคิดตาม
- เวลาท่านเกิดปัญหา ให้ท่านคิดออกมาในเชิงภาพ (Visualize) แทนที่จะคิดในเชิงคำพูด (Verbelize) เมื่อท่านเห็นในเชิงภาพ จะรู้ว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร การคิดในเชิงภาพก็คือ ท่านลองดูว่าปัญหาที่เผชิญมันคล้ายกับอะไรถ้าออกมาในเชิงภาพ อาจจะเชื่อมโยงกับปัญหาเก่า หรือกรณีอื่นๆ ที่เราเคยมีประสบการณ์มาแล้ว
- ถ้าท่านจะทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จในเวลานี้ คือ ฉลาดกว่า (Out Smart) ทำในสิ่งที่คู่แข่งขันไม่ทำ
- สิ่งที่ต้องให้ความสนใจในการทำธุรกิจ 3C (แนวความคิดของ ดร.เคนอิชิ โอมาเอะ)
1. Company : ตัวบริษัทของท่านเองจากนี้ไปจะเป็นอะไร
2. Customer : สำคัญที่สุด คือใคร อยู่ไหน
- การฟัง เป็นการหา idea อีกวิธีหนึ่ง แต่ข้อแรกคือ ต้องหุบปากแล้วเปิดหูฟัง ต้องเป็นการ Active
Listening
- เวลาที่คุณจะไปทำสินค้าที่เป็นจุดเปลี่ยนของบริษัท (Game Changer Product) ต้องมีแนวความคิดว่าลูกค้าคือ นายใหญ่ นั่นก็คือ นายใหญ่คือคนที่สั่งเรา เราต้องไปดูว่าใครคือนายใหญ่ ต้องการอะไร แรงบันดาลใจ และความต้องการคืออะไร ทั้งที่เขาพูดและไม่ได้พูด ต้องถามและฟัง เพื่อหา customer insight
- ซึ่งการฟังแบบ Active ต้องเรียกร้องการ โฟกัสในสิ่งที่ลูกค้าพูดออกมา โดยการมองตาเขา ให้ความสนใจกับสารที่เขาส่งมา แล้วนำสิ่งที่เขาพูดมาปรับปรุงปฏิบัติ
- การฟังที่ดี ในขณะที่คนอื่นพูด จะต้องฝึกจับใจความให้ได้
- Sales ที่ดี ไม่ใช่พูดเก่ง แต่ต้องเป็นคนที่รับฟังเก่งต่างหาก เพื่อรับฟังลูกค้า จะได้เข้าใจลูกค้าว่าลูกค้าต้องการอะไร ไม่ใช่ยัดเยียดขายในสิ่งที่ คุณอยากขาย ไม่ได้ขายในสิ่งที่ลูกค้าต้องการ (คนอยากฟังในสิ่งที่เขาต้องการฟัง ไม่ได้อยากฟังในสิ่งที่คุณต้องการพูด)
- ถ้าคุณเป็นคนชอบพูด แล้วจะฟังอย่างไร
>> ฝึกฟังอย่างแท้จริง โดยการ focus ไปที่คำแต่ละคำ
บาปที่เกิดจากการฟัง 7 ประการ
1. มีอคติ ต่อสิ่งที่ผู้พูดกำลังพูดอยู่
2. ทำท่าทางไม่สนใจ ไม่ใยดี
3. ไม่ได้สนใจ ในขณะที่คนอื่นพูด คิดอยู่ว่าตัวเองจะพูดอะไรต่อไป
4. ขัดจังหวะผู้อื่น
5. ทำให้คนอื่นเสียสมาธิ
6. ไปหยุดความคิดของผู้อื่นที่กำลังพูด คือการทำให้ประเด็นไม่มีคุณค่า
7. ปิด
Marketing
- Value for money marketing คือ การทำสินค้าให้คุ้มค่า คุ้มราคา ซึ่งในยามที่เศรษฐกิจถดถอย สินค้าคุ้มค่า คุ้มราคาไม่ใช่สินค้าราคาถูก
- บรรจุภัณฑ์ เท่ากับ ตัวสินค้า เหมือนเครื่องแต่งกาย เท่ากับ ตัวท่านเอง ซึ่งประเทศที่ทำบรรจุภัณฑ์เก่งคือ ญี่ปุ่น
- สินค้าบางตัว ขายไม่ออก ขายไม่ดี เพราะผู้บริโภคไม่ทราบถึงคุณประโยชน์ของสินค้า จึงทำให้เราต้องให้ความรู้ (educate) แก่ผู้บริโภคอย่างเช่น beauty drink ที่ขาย 7-11 ช่งแรกขายไม่ดี แต่พอเปลี่ยน package และบอกถึงคุณประโยชน์ของเครื่องดื่ม จึงกลับมามียอดขายอันดับหนึ่งใน 7-11 ประเภทน้ำผลไม้
- การแจกของ ควรแจกให้กับผู้หญิง เพราะจะแบ่งแจกคนอื่นต่อๆไป
- ในเชิงการสื่อสารทางการตลาด พอเรามีสารจะสื่อแล้ว รายละเอียดที่เราจะพูดต่อไปสำคัญที่สุดซึ่งต้องมีชั้นเชิง เนื่องจากสารที่จะสื่อทุกคนทุกเจ้าก็มีเหมือนกัน เราจะทำอย่างไรให้คนเชื่อ
- การตัดสินใจทางการตลาดที่สำคัญที่สุด ที่คุณสามารถทำได้ คือ คุณจะตั้งชื่อสินค้าว่าอย่างไร
- ข้อห้ามทางการตลาด การ Branding สินค้า โดยใช้อายุ
- Generic Name คือ การเลือกชื่อยี่ห้อ แทนประเภทหมวดหมู่สินค้านั้นๆ เช่น แฟ้บ แทนผงซักฟอก
- Functional Brand คือ การเรียกชื่อยี้ห้อนั้น แล้วรู้ทันทีว่าคือสินค้าอะไร แต่ไม่ได้แทนหมวดหมู่สินค้านั้น เช่น เทนโซพาส ไม่ได้แทนคำว่าพลาสเตอร์ แต่รู้ว่าเป็นที่ปิดแผล
Marketing In the down Turn
- บริษัทจะต้องทำความเข้าใจ เราต้องรู้ธรรมชาติของลูกค้า รู้ว่าพฤติกรรมการของลูกค้าเปลี่ยนไปหรือเปล่า พอรู้ว่าเปลี่ยนปุ๊บ ท่านจะต้องปรับ
1. ปรับสินค้าหรือบริการ (Offering) P ตัวที่ 1
2. ปรับการสื่อสาร P ตัวที่ 4
ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป
- จิตวิทยาในช่วงเศรษฐกิจถดถอยเป็นอย่างไร
1. คนจะซื้อของขึ้นอยู่กับ รายได้ที่เหลือจากการหักค่าใช้จ่ายต่างๆ ไม่มีพันธะผูกพัน (Disposable Income) ว่าเหลือเท่าไหร่
2. ผู้บริโภคจะใช้จ่ายหรือไม่ ขึ้นกับว่ามั่นใจในอนาคตหรือไม่
3. คนจะไว้ใจในบริษัท และเศรษฐกิจหรือไม่ ว่าสามารถอยู่รอดได้หรือไม่ จากนั้นผู้บริโภคจะปรับ life style ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป
- เศรษฐกิจแบบนี้ การ segment ลูกค้าจะต้องเปลี่ยนไปด้วย ต้องมานั่งทบทวนใหม่
PR
- การสื่อสารการตลาด การใช้สื่อสมัยใหม่เป็นเรื่องสำคัญ เพราะ new media ตอนนี้จะเป็นแบบ online, social network, social media เป็นสื่อสองทาง ซึ่งสามารถให้คนโต้ตอบกันได้ ซึ่งแบบเก่า จะดู จะอ่าน บริโภคสื่อข้างเดียว
- Longtail Marketing ซึ่งถ้ามาอธิบายเกี่ยวกับใช้สื่อ ก็คือ โดยปกติสื่อทั่วไปจะเรียกว่า Head tail เข้าถึงคนทีเดียวได้จำนวนแยะ ไม่ว่าจะเป็นTV วิทยุ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ซึ่งข้อจำกัดมีไม่กี่อย่าง แต่พอมี internet ข้อจำกัดในเรื่องของช่องทางมันหายไป เพราะ website เล็กๆ ที่เหมือนเป็นหางก็สามารถมีอิทธิพลได้
Theory of Businesss
- Theory of Business (Peter Drucker) : ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริง แบ่งเป็นสมมติฐาน 3 ตัว
1. สมมติฐานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต้องสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
2. สมมติฐานเกี่ยวกับ mission ที่เราจะทำ บริษัทมีเป้าหมายทำอะไร ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริง
3. สมมติฐานเกี่ยวกับความเชี่ยวชาญหลัก (Core Competency) ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริง
* ทั้ง 3 ตัว ต้องสอดคล้องกับความเป็นจริงและไปด้วยกันได้ด้วยกันทั้ง 3 ข้อ
War in the boardroom
เป็นหนังสือของ อารี และลอร่ารี (AL & Laura Ries) เกี่ยวกับ ทัศนคติแนวความคิดของ CEO (ที่เป็นผู้บริหารและการจัดการ) และ CMO (เป็นฝ่ายการตลาด) ซึ่งมักจะมีทัศนคติและแนวคิดที่ขัดแย้งกัน ฝ่ายบริหารคิดเชิงเหตุผล และฝ่ายการตลาดคิดเชิงสร้างสรรค์
>>> เมื่อ CEO ไม่มี Marketing Sence เนื่องจาก พวกผู้บริหารเวลาจะตัดสินใจจะทำอะไร ต้องมีข้อมูลการวิจัย ต่างๆ มา support เกือบ 99% และที่เหลืออีก 1% ที่สำคัญที่จะทำให้ประสบความสำเร็จคือ Marketing Sense
>>> ตัวอย่าง CEO ที่มี Marketing sence คือ คุณตัน โอเอชิ, คุณเทียม โชควัฒนา
none
- ช่วงนี้ขายของต้องออกโปรโมชั่น ที่ให้ผู้บริโภครู้สึกว่าคุ้ม จะได้ขายได้
- Creative Economy : เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ที่มีไอเดีย เป็นตัวขับเคลื่อน
- จัดกลุ่มลูกค้า และบริการเฉพาะกลุ่มนั้นๆ
- ถ้าอยากเก่งการตลาด ในสภาววะแบบนี้ต้องออกไปดูคนว่ามีพฤติกรรมเปลี่ยนไปอย่างไร
- ตอนนี้ท่านจะต้องเลือกลูกค้า และจัดการบริการไปตาม Volumn ของลูกค้า (Service Level) หรือเรียกว่าการ segment
- Managing Up : การบริหารเจ้านาย
- ในตลาดเฉพาะเล็กๆ มีคนรวย มีคนมั่งคั่งอยู่ จงไปหาเขา (Philip Kotler)
- ธุรกิจที่สวนกระแส ประสบความสำเร็จในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ เช่น แสนสิริ ต้องเล่น Promotion ที่ถึงพร้อม
- ในช่วงวิกฤต จะเป็นช่วงที่ดีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานของพนักงานริษัท
- ในโลกนี้มีคน 2 ประเภท
จากนักเขียนคนหนึ่ง
>> ประเภทหนึ่งมาถึงห้องแล้วบอกว่า เฮ้ย ฉันมาแล้ว
>> อีกประเภทหนึ่ง มาถึงห้องแล้วบอกว่า เฮ้ย มากันพร้อมหน้าเชียวนะ
ส่วนนางอินทิรา คานธี ให้คำจำกัดความคน 2 ประเภท
>> ประเภทหนึ่งคนที่ทำงานหนัก
>> อีกประเภทหนึ่ง คือคนที่ไม่ทำงาน ให้คนอื่นทำ แล้วมาเอา credit เอาหน้าไป
จงเป็นมนุษย์ประเภทแรก เพราะประเภทหลังมีแยะแล้ว
- ในสภาพเศรษฐกิขช่วงนี้ ต้องใช้กลยุทธ์ทางการเงินจัดเป็นโปรโมชั่นให้กับสินค้า
- Blue Ocean คือ ไม่ต้องสนใจเรื่องการแข่งขัน แต่เป็นการสร้างมูลค่าใหม่บนพื้นฐานความต้องการของลูกค้า
- ผู้นำมี 4 ระดับ (จากคัมภีร์ เต๋าเต็กเก๋ง)
ระดับที่ 1 ผู้นำที่คนเทิดทูน
ระดับที่ 2 ผู้นำที่คนรัก
ระดับที่ 3 ผู้นำที่คนกลัว
ระดับที่ 4 ผู้นำที่คนเกลียด
Comments
Post a Comment