36 กลยุทธ์สู่ชัยชนะภาคปฏิบัติ
กลยุทธ์ที่ 11 หลี่ตายแทนถาว : ยอมเฉือนเนื้อ เพื่อรักษาชีวิต แพ้ศึกเล็กแต่ชนะสงคราม ยอมเสียส่วนน้อย เพื่อรักษาส่วนใหญ่กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ที่เสียเปรียบในศึกสงคราม ซึ่งไม่เป็นผลดีแก่ตนเองและกองทัพ เกิดความเสียหายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อที่จะแปรเปลี่ยนจากสถานการณ์ที่เป็นฝ่ายเสียเปรียบให้เป็นการได้เปรียบ จำต้องยินยอมเสีย "มืด" เพื่อที่จะได้ประโยชน์จาก "สว่าง" เมื่อนำไปสอดคล้องกับหมากล้อม นิ่คือ หมากทิ้ง
Refocusing Innovation
- จะให้ความสำคัญในช่วงนี้ที่เรียกว่า Economic Uncertainty
- จุดหนึ่งที่ต้องให้ความสนใจ คือ เรื่องนวัตรกรรม (Innovation) ซึ่งในช่วงเวลานี้เราต้องกลับมาเน้น Innovation อีกครั้งหนึ่ง
กลยุทธ์ความเป็นผู้นำในภาวะวิกฤต
- ถ้าจะบริหารเศรษฐกิจในสภาพแบบนี้ ตัวเดียวที่ต้องใส่ใจคือเงินสด ซึ่งจะเห็นได้ว่าในช่วงเศรษฐกิจไม่ดี จะมีคนประเภทหนึ่งที่มีเงินสดและกว้านซื้อสินทรัพย์ที่ราคาตกต่ำกว่าที่ควรจะเป็น การบริหารเงินสด
- เราต้องคิดสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด ที่เราอาจจะต้องพบเจอ (Worse Case Scenario) แล้วต้องรีบดำเนินการเตรียมตัวรับสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดที่อาจะเกิดได้
เงินสด
- คนทำธุรกิจทั่วไปจะดูที่งบกำไรขาดทุนมากกว่า (เน้นที่รายได้และกำไร) แต่ในยามเศรษฐกิจถดถอยต้องดูที่ งบดุลมากกว่า เพราะเป็นการย้อนไปดูว่าเราขายแล้วเรามีเงินสดหรือไม่ ที่มีของเงินทุนจะมาจากการแหล่งไหน แล้วเงินที่มีไปใช้อยู่ตรงไหน
- ถ้าเป็น SME จะดูยอดขายและกำไร จะดูตอนปลายปี แต่ถ้าเป็นบริษัทใหญ่จะดู EPS รายไตรมาส รายปี แต่ในยุคนี้จะดูที่เงินสด
- และถ้าธุรกิจจะต้องเติบโตต่อไป จะมีนัยอย่างไรในเรื่องเงินสดในการตัดสินใจแต่ละอย่าง เช่น ถ้าต้องขยายโรงงาน เราต้องใช้เงินสดมากน้อยแค่ไหน และแหล่งที่มามาจากไหน ผลตอบแทนกลับมาคุ้มหรือไม่
- ธุรกิจขนาดเล็ก cash สำคัญกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
- บริษัทต้องมีเงินสดที่เพียงพอ รวมทั้งมีแหล่งเงินสดที่สามารถกู้ยืมมาได้ (อาจจะมีการกู้ยืมเงินมาก่อนใช้จริงได้ ยอมเสียดอก)
- บริษัทจะต้องรู้สถานะของเงินสดได้ทุกวัน (Cash Position)
- แหล่งที่ของเงินสดภายใน 3 ทาง คือ
ทางที่ 1 : รายได้จากการประกอบการการ
ทางที่ 2 : working capital (สินทรัพย์หมุนเวียน-หนี้สินหมุนเวียน) มีการวิเคราะห์ถึงลูกหนี้การค้าว่าเป็น
อย่างไร และหาวิธีลดสินค้าคงคลังด้วย
ทางที่ 3 : ขายทรัพย์สินของกิจการ
ซึ่งเราต้องติดตามผลอย่างต่อเนื่องใกล้ชิด ทั้ง 3 ตัว
- กำไรต่อหน่วยที่ได้เป็นเท่าไหร่ ในการขายสินค้า ทั้งสินค้าที่ผลิตขึ้นใหม่ และสินค้าที่อยู่ในคลัง
- การบริหารเงินสด เราต้องจินตนาการสถานะการณืที่เลวร้ายที่สุด และจะกระทบกับสถานะเงินสดของเราอย่างไร
การคิดใหม่เรื่องการเจริญเติบโต
- เราควรจะหาการเติบโตอย่างมีเงื่อนไข เป็นการเติบโตที่ทำกำไรได้และไม่ทำให้เงินสดเรากระทบกระเทือน
- CEO ทั่วไปจะมองหาแต่ความเติบโต (เพราะต้นทุนในการทำธุรกิจเติบโตขึ้นทุกปี)
- แล้วเราจะโตได้อย่างไรถ้าตลาดโดยรวมไม่โต ก็คือ การแยกส่วนแบ่งตลาดจากคู่แข่ง
การคิดใหม่เรื่องการเจริญเติบโต
- เราจะต้องคิดถึงประสิทธิภาพในเรื่องของเงินสดคู่ไปกับการเติบโตเสมอ เช่น ถ้าเราจะลงทุนแล้วให้ได้รับผลตอบแทน 7% จะต้องใช้เงินสดเท่าไหร่
- ผู้นำองค์กรยามนี้ต้องเปลี่ยนเป็นวิธีการคิดแบบวันต่อวัน ต้องลงไปดูในระดับปฏิบัติการ (Micro Management) อาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย แต่สามารถที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมโดยรวมของทั้งองค์กรได้
สำนึกแห่งความเร่งรีบ
อะไรเป็น ข้อแรกของการเปลี่ยนแปลง
1. A Sense of Emergency (สำนึกแห่งความเร่งรีบ) โดยเฉพาะ SME ต้องมีสำนึกมากกว่าบริษัทใหญ่
- เราจะต้องไม่พึงพอใจต่อสภาพที่ตัวเองมีอยู่ ทำให้มีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา
- ก่อนจะรู้จักความเร่งรีบ เราต้องรู้จักสภาพ ซึ่งมี 3 ตัว คือ
>>> Complacency คือ การพึงพอใจกับสภาพเป็นอยู่เดิม และไม่รู้ซึ้งถึงอันตรายี่เข้ามาใกล้ คนเราชอบอยู่ใน Comfort Zone
>>> Fault Emergency คือ การเร่งรีบปลอม พวกทำเป็นขยัน งานยุ่งๆ แต่ไม่มีผลงาน มี Energy แต่ขาด Proative หรือขาดทิศทางที่ชัดเจน
>>> เร่งรีบจริงๆ ไม่สามารถวัดได้
- รากเหง้าของ ความพึงพอใจต่อสภาพเดิมๆ (Complacency)
1. ความสำเร็จ
กลยุทธ์ที่ 11 หลี่ตายแทนถาว : ยอมเฉือนเนื้อ เพื่อรักษาชีวิต แพ้ศึกเล็กแต่ชนะสงคราม ยอมเสียส่วนน้อย เพื่อรักษาส่วนใหญ่กลยุทธ์ที่มีความหมายถึงการใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ที่เสียเปรียบในศึกสงคราม ซึ่งไม่เป็นผลดีแก่ตนเองและกองทัพ เกิดความเสียหายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อที่จะแปรเปลี่ยนจากสถานการณ์ที่เป็นฝ่ายเสียเปรียบให้เป็นการได้เปรียบ จำต้องยินยอมเสีย "มืด" เพื่อที่จะได้ประโยชน์จาก "สว่าง" เมื่อนำไปสอดคล้องกับหมากล้อม นิ่คือ หมากทิ้ง
Refocusing Innovation
- จะให้ความสำคัญในช่วงนี้ที่เรียกว่า Economic Uncertainty
- จุดหนึ่งที่ต้องให้ความสนใจ คือ เรื่องนวัตรกรรม (Innovation) ซึ่งในช่วงเวลานี้เราต้องกลับมาเน้น Innovation อีกครั้งหนึ่ง
กลยุทธ์ความเป็นผู้นำในภาวะวิกฤต
- ถ้าจะบริหารเศรษฐกิจในสภาพแบบนี้ ตัวเดียวที่ต้องใส่ใจคือเงินสด ซึ่งจะเห็นได้ว่าในช่วงเศรษฐกิจไม่ดี จะมีคนประเภทหนึ่งที่มีเงินสดและกว้านซื้อสินทรัพย์ที่ราคาตกต่ำกว่าที่ควรจะเป็น การบริหารเงินสด
- เราต้องคิดสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด ที่เราอาจจะต้องพบเจอ (Worse Case Scenario) แล้วต้องรีบดำเนินการเตรียมตัวรับสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดที่อาจะเกิดได้
เงินสด
- คนทำธุรกิจทั่วไปจะดูที่งบกำไรขาดทุนมากกว่า (เน้นที่รายได้และกำไร) แต่ในยามเศรษฐกิจถดถอยต้องดูที่ งบดุลมากกว่า เพราะเป็นการย้อนไปดูว่าเราขายแล้วเรามีเงินสดหรือไม่ ที่มีของเงินทุนจะมาจากการแหล่งไหน แล้วเงินที่มีไปใช้อยู่ตรงไหน
- ถ้าเป็น SME จะดูยอดขายและกำไร จะดูตอนปลายปี แต่ถ้าเป็นบริษัทใหญ่จะดู EPS รายไตรมาส รายปี แต่ในยุคนี้จะดูที่เงินสด
- และถ้าธุรกิจจะต้องเติบโตต่อไป จะมีนัยอย่างไรในเรื่องเงินสดในการตัดสินใจแต่ละอย่าง เช่น ถ้าต้องขยายโรงงาน เราต้องใช้เงินสดมากน้อยแค่ไหน และแหล่งที่มามาจากไหน ผลตอบแทนกลับมาคุ้มหรือไม่
- ธุรกิจขนาดเล็ก cash สำคัญกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
- บริษัทต้องมีเงินสดที่เพียงพอ รวมทั้งมีแหล่งเงินสดที่สามารถกู้ยืมมาได้ (อาจจะมีการกู้ยืมเงินมาก่อนใช้จริงได้ ยอมเสียดอก)
- บริษัทจะต้องรู้สถานะของเงินสดได้ทุกวัน (Cash Position)
- แหล่งที่ของเงินสดภายใน 3 ทาง คือ
ทางที่ 1 : รายได้จากการประกอบการการ
ทางที่ 2 : working capital (สินทรัพย์หมุนเวียน-หนี้สินหมุนเวียน) มีการวิเคราะห์ถึงลูกหนี้การค้าว่าเป็น
อย่างไร และหาวิธีลดสินค้าคงคลังด้วย
ทางที่ 3 : ขายทรัพย์สินของกิจการ
ซึ่งเราต้องติดตามผลอย่างต่อเนื่องใกล้ชิด ทั้ง 3 ตัว
- กำไรต่อหน่วยที่ได้เป็นเท่าไหร่ ในการขายสินค้า ทั้งสินค้าที่ผลิตขึ้นใหม่ และสินค้าที่อยู่ในคลัง
- การบริหารเงินสด เราต้องจินตนาการสถานะการณืที่เลวร้ายที่สุด และจะกระทบกับสถานะเงินสดของเราอย่างไร
การคิดใหม่เรื่องการเจริญเติบโต
- เราควรจะหาการเติบโตอย่างมีเงื่อนไข เป็นการเติบโตที่ทำกำไรได้และไม่ทำให้เงินสดเรากระทบกระเทือน
- CEO ทั่วไปจะมองหาแต่ความเติบโต (เพราะต้นทุนในการทำธุรกิจเติบโตขึ้นทุกปี)
- แล้วเราจะโตได้อย่างไรถ้าตลาดโดยรวมไม่โต ก็คือ การแยกส่วนแบ่งตลาดจากคู่แข่ง
การคิดใหม่เรื่องการเจริญเติบโต
- เราจะต้องคิดถึงประสิทธิภาพในเรื่องของเงินสดคู่ไปกับการเติบโตเสมอ เช่น ถ้าเราจะลงทุนแล้วให้ได้รับผลตอบแทน 7% จะต้องใช้เงินสดเท่าไหร่
- ผู้นำองค์กรยามนี้ต้องเปลี่ยนเป็นวิธีการคิดแบบวันต่อวัน ต้องลงไปดูในระดับปฏิบัติการ (Micro Management) อาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย แต่สามารถที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมโดยรวมของทั้งองค์กรได้
สำนึกแห่งความเร่งรีบ
อะไรเป็น ข้อแรกของการเปลี่ยนแปลง
1. A Sense of Emergency (สำนึกแห่งความเร่งรีบ) โดยเฉพาะ SME ต้องมีสำนึกมากกว่าบริษัทใหญ่
- เราจะต้องไม่พึงพอใจต่อสภาพที่ตัวเองมีอยู่ ทำให้มีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา
- ก่อนจะรู้จักความเร่งรีบ เราต้องรู้จักสภาพ ซึ่งมี 3 ตัว คือ
>>> Complacency คือ การพึงพอใจกับสภาพเป็นอยู่เดิม และไม่รู้ซึ้งถึงอันตรายี่เข้ามาใกล้ คนเราชอบอยู่ใน Comfort Zone
>>> Fault Emergency คือ การเร่งรีบปลอม พวกทำเป็นขยัน งานยุ่งๆ แต่ไม่มีผลงาน มี Energy แต่ขาด Proative หรือขาดทิศทางที่ชัดเจน
>>> เร่งรีบจริงๆ ไม่สามารถวัดได้
- รากเหง้าของ ความพึงพอใจต่อสภาพเดิมๆ (Complacency)
1. ความสำเร็จ
Comments
Post a Comment