การสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน
- เราต้องแยกให้ได้ว่า เราทำเพราะว่าโลกสมัยใหม่สอนเรา (รวยๆๆๆ เหนื่อยน้อยได้เงินมาก) หรือว่าเกิดจากใจเรารัก ถ้าเราทำโดยใจเรารัก เวลาเรามองปัญหาเราจะมองด้วยปัญญาและทำอะไรด้วยความตั้งใจ จึงเป็นพื้นฐานและทัศนคติในการสร้างความได้เปรียบ
- เราอย่ามองโลกเป็นโจทย์เดียวกัน การแข่งขันไม่ใช่แข่งขันเพื่อให้ได้ market share หรือได้ความนิยมมากสุด แท้จริงแล้วการแข่งขันมีหลายแบบหรือหลายตลาด ไม่ใช่ตลาดทุนนิยมอย่างเดียว
- เพราฉะนั้น ก่อนจะทำธุรกิจต้องตอบให้ได้ว่าจะแข่งเพื่ออะไร และเป้าหมายเราอยู่ตรงไหน ซึ่งเราจะตอบได้ก็ต่อเมื่อเราทำอะไรด้วยใจรัก ซึ่งเรารู้ว่ามันเป็นจุดแข็งของเรา ที่เรามีมากกว่าคนอื่น ทั้งมีโอกาสมากกว่าคนอื่น ซึ่งเปรียบเสมือน Barrier to entry ให้กับผู้อื่นที่จะเข้ามา ซึ่งถ้าเราไม่มีเลย หรือเริ่มในจุดที่ต่ำกว่าคนอื่น การแข่งขันมันก็ยาก
- การทำธุรกิจต้องคิด 2 มุม มุมหนึง อะไรคือจุดได้เปรียบที่ได้มาจากธรรมชาติของเรา เช่น มีญาติช่วยเหลือ อีกมุมหนึง ทำอะไรแล้วก็อย่าเบียดเบียนคนอื่น เป็นเรื่องของการแข่งขันจากการได้เปรียบจากขนาดมากกว่าความได้เปรียบจากความคิดความรู้
- เราต้องรู้จุดแข็งของเราที่จะสร้างความได้เปรียบ และเลือกเวทีการแข่งขันที่ถูกต้องทุกคนจะมีความได้เปรียบ
- marketing ในระบบทุนนิยม มันทำให้เราไม่ได้ใช้สมอง เนื่องจากมันต้องการคลอบงำเราเพื่อให้เราเป็นสาวกในหลักการ วิธีการดังกล่าวตลอดไป ทำให้ปัญญาที่เราจะมองเห็นธรรมชาติของตัวเราน้อยลง ทำให้เราคิดไม่ออกว่าจะสร้าง Competitiveness ให้ตัวเองอย่างไร จึงอาจกลายเป็นว่า ถ้าเรามัวแต่ยึดติดอยู่กับหลักการของระบบทุนนิยมมากเกินไป โลกทุกวันนี้จึงไม่ได้เปิด แต่กำลังปิดกั้นเราทางความคิดนั่นเอง
- โลกต่อจากนี้ไป จะมีธุรกิจที่นีช เพิ่มมากขึ้น ผู้คนจะสามารถลงไปเป็น specialist ด้านใดด้านหนึ่งมากขึ้น น่าจะมีการทำธุรกิจแบบ Small but beautiful ซึ่งสังคมจะสนใจ ทำให้เราสามารถทำสินค้าที่เป็น limited edition ได้
- ทำธุรกิจ ควรทำให้ดีที่สุดและให้ดีไปเลย ไม่ใช่ทำให้รวยที่สุดหรือใหญ่ที่สุด ซึ่งเหมือนกับที่ Porter บอกไว้ว่าการที่จะสร้างความได้เปรียบมีอยู่ 3 วิธี วิธีหนึงคือการ Focus ไปเลยว่าจะทำอะไร และทำให้ดีที่สุด
- เราต้องมองว่าเรามีวัตถุดิบอะไรบ้าง และจะทำอย่างไรให้เป็นสิ่งใหม่ (value creation : การนำจุดแข็งของประเทศหรือของบริษัท ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ มาสร้างสรรค์ผลิตสินค้าและบริการที่ตอบสนองลูกค้าได้อย่างเหมาะสม ทำให้เกิดสินค้าและบริการที่ยากต่อการลอกเลียนแบบ และสามารถตั้งราคาสูง เพราะไม่มีใครสามารถลอกเลียนแบบได้ เช่น ถ้าเมื่อก่อนเลี้ยงวัว ตอนนี้ก็เลี้ยงแต่เลี้ยงให้ดีขึ้น เรียกว่า Value Added แต่ถ้านำวัวตัวเดียวมาขัดมาอาบน้ำ ปะแป้ง ทำเป็นการท่องเที่ยว ถึงจะเรียกว่า Value Creation)
- การจะทำอะไรจะต้องคิดก่อนว่า คนอื่นสามารถ copy ได้ไหม ไม่งั้นเราบุกเบิกแทบตาย คนอื่นสบาย
สูตรสำเร็จ (Success Formular)
สูตรสำเร็จมาจากคน 2 ประเภท (Success Formular)
1. นักปฎิบัติและ Professer และ Practistionner (ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ)
2. นักวิชากการ แนวคิด ทฏษฎี (Michael E.Porter) >>> ซึ่งน่าจะมีคนอีกประเภทหนึ่งคือ Observer and Apply พวกสังเกตุแล้วค่อยประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
แรงกดดันในองค์กร
1. ผู้นำที่ดีต้องรู้จักสร้าง รู้จักกด รู้จักผ่อน
2. ต้องรู้จักสร้าง Good Pressure เพื่อที่จะทำให้คนเกิดความฮึกเฮิม (ซึ่งภาวะปัจจุบันต้องใช้) ซึ่งจะก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
3. ถ้าเราไม่สร้างแรงกดดัน องค์กรก็จะเหมือนหินปูนที่ตกตะกอน เขย่าเท่าไหร่ก็ไม่ขยับ เลยต้องหมั่นทำให้คนตื่นตัวและรู้สึกท้าทายตลอด
4. เวลาทำงานหาคนที่มีความตั้งใจ มากกว่าคนเก่ง เพราะคนเก่งจะมี Conflict of Interest มองตัวเองดี ตัวเองเก่ง คนอื่นผิดหมด ซึ่งเราต้องทำให้นโยบายบริษัทสอดคล้องและตอบสนองกับศักยภาพของ พนง.ที่มึความตั้งใจด้วย
บทความเกี่ยวกับ โชค บูลกุล :
มองภาพยนต์ ผ่านมุมของกลยุทธ์ธุรกิจ SME
คำแนะนำสำหรับ ทายาทที่จะสืบทอดกิจการ
- เราต้องแยกให้ได้ว่า เราทำเพราะว่าโลกสมัยใหม่สอนเรา (รวยๆๆๆ เหนื่อยน้อยได้เงินมาก) หรือว่าเกิดจากใจเรารัก ถ้าเราทำโดยใจเรารัก เวลาเรามองปัญหาเราจะมองด้วยปัญญาและทำอะไรด้วยความตั้งใจ จึงเป็นพื้นฐานและทัศนคติในการสร้างความได้เปรียบ
- เราอย่ามองโลกเป็นโจทย์เดียวกัน การแข่งขันไม่ใช่แข่งขันเพื่อให้ได้ market share หรือได้ความนิยมมากสุด แท้จริงแล้วการแข่งขันมีหลายแบบหรือหลายตลาด ไม่ใช่ตลาดทุนนิยมอย่างเดียว
- เพราฉะนั้น ก่อนจะทำธุรกิจต้องตอบให้ได้ว่าจะแข่งเพื่ออะไร และเป้าหมายเราอยู่ตรงไหน ซึ่งเราจะตอบได้ก็ต่อเมื่อเราทำอะไรด้วยใจรัก ซึ่งเรารู้ว่ามันเป็นจุดแข็งของเรา ที่เรามีมากกว่าคนอื่น ทั้งมีโอกาสมากกว่าคนอื่น ซึ่งเปรียบเสมือน Barrier to entry ให้กับผู้อื่นที่จะเข้ามา ซึ่งถ้าเราไม่มีเลย หรือเริ่มในจุดที่ต่ำกว่าคนอื่น การแข่งขันมันก็ยาก
- การทำธุรกิจต้องคิด 2 มุม มุมหนึง อะไรคือจุดได้เปรียบที่ได้มาจากธรรมชาติของเรา เช่น มีญาติช่วยเหลือ อีกมุมหนึง ทำอะไรแล้วก็อย่าเบียดเบียนคนอื่น เป็นเรื่องของการแข่งขันจากการได้เปรียบจากขนาดมากกว่าความได้เปรียบจากความคิดความรู้
- เราต้องรู้จุดแข็งของเราที่จะสร้างความได้เปรียบ และเลือกเวทีการแข่งขันที่ถูกต้องทุกคนจะมีความได้เปรียบ
- marketing ในระบบทุนนิยม มันทำให้เราไม่ได้ใช้สมอง เนื่องจากมันต้องการคลอบงำเราเพื่อให้เราเป็นสาวกในหลักการ วิธีการดังกล่าวตลอดไป ทำให้ปัญญาที่เราจะมองเห็นธรรมชาติของตัวเราน้อยลง ทำให้เราคิดไม่ออกว่าจะสร้าง Competitiveness ให้ตัวเองอย่างไร จึงอาจกลายเป็นว่า ถ้าเรามัวแต่ยึดติดอยู่กับหลักการของระบบทุนนิยมมากเกินไป โลกทุกวันนี้จึงไม่ได้เปิด แต่กำลังปิดกั้นเราทางความคิดนั่นเอง
- โลกต่อจากนี้ไป จะมีธุรกิจที่นีช เพิ่มมากขึ้น ผู้คนจะสามารถลงไปเป็น specialist ด้านใดด้านหนึ่งมากขึ้น น่าจะมีการทำธุรกิจแบบ Small but beautiful ซึ่งสังคมจะสนใจ ทำให้เราสามารถทำสินค้าที่เป็น limited edition ได้
- ทำธุรกิจ ควรทำให้ดีที่สุดและให้ดีไปเลย ไม่ใช่ทำให้รวยที่สุดหรือใหญ่ที่สุด ซึ่งเหมือนกับที่ Porter บอกไว้ว่าการที่จะสร้างความได้เปรียบมีอยู่ 3 วิธี วิธีหนึงคือการ Focus ไปเลยว่าจะทำอะไร และทำให้ดีที่สุด
- เราต้องมองว่าเรามีวัตถุดิบอะไรบ้าง และจะทำอย่างไรให้เป็นสิ่งใหม่ (value creation : การนำจุดแข็งของประเทศหรือของบริษัท ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ มาสร้างสรรค์ผลิตสินค้าและบริการที่ตอบสนองลูกค้าได้อย่างเหมาะสม ทำให้เกิดสินค้าและบริการที่ยากต่อการลอกเลียนแบบ และสามารถตั้งราคาสูง เพราะไม่มีใครสามารถลอกเลียนแบบได้ เช่น ถ้าเมื่อก่อนเลี้ยงวัว ตอนนี้ก็เลี้ยงแต่เลี้ยงให้ดีขึ้น เรียกว่า Value Added แต่ถ้านำวัวตัวเดียวมาขัดมาอาบน้ำ ปะแป้ง ทำเป็นการท่องเที่ยว ถึงจะเรียกว่า Value Creation)
- การจะทำอะไรจะต้องคิดก่อนว่า คนอื่นสามารถ copy ได้ไหม ไม่งั้นเราบุกเบิกแทบตาย คนอื่นสบาย
สูตรสำเร็จ (Success Formular)
สูตรสำเร็จมาจากคน 2 ประเภท (Success Formular)
1. นักปฎิบัติและ Professer และ Practistionner (ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ)
2. นักวิชากการ แนวคิด ทฏษฎี (Michael E.Porter) >>> ซึ่งน่าจะมีคนอีกประเภทหนึ่งคือ Observer and Apply พวกสังเกตุแล้วค่อยประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
แรงกดดันในองค์กร
1. ผู้นำที่ดีต้องรู้จักสร้าง รู้จักกด รู้จักผ่อน
2. ต้องรู้จักสร้าง Good Pressure เพื่อที่จะทำให้คนเกิดความฮึกเฮิม (ซึ่งภาวะปัจจุบันต้องใช้) ซึ่งจะก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
3. ถ้าเราไม่สร้างแรงกดดัน องค์กรก็จะเหมือนหินปูนที่ตกตะกอน เขย่าเท่าไหร่ก็ไม่ขยับ เลยต้องหมั่นทำให้คนตื่นตัวและรู้สึกท้าทายตลอด
4. เวลาทำงานหาคนที่มีความตั้งใจ มากกว่าคนเก่ง เพราะคนเก่งจะมี Conflict of Interest มองตัวเองดี ตัวเองเก่ง คนอื่นผิดหมด ซึ่งเราต้องทำให้นโยบายบริษัทสอดคล้องและตอบสนองกับศักยภาพของ พนง.ที่มึความตั้งใจด้วย
บทความเกี่ยวกับ โชค บูลกุล :
มองภาพยนต์ ผ่านมุมของกลยุทธ์ธุรกิจ SME
คำแนะนำสำหรับ ทายาทที่จะสืบทอดกิจการ
Comments
Post a Comment