การจัดตั้ง KPI ในแต่ละธุรกิจจะขึ้นอยู่กับตัวธุรกิจ และความต้องการของลูกค้า (ที่เราไปตกลงกับเขาไว้) เราจะตั้งอย่างไร เช่น การตั้ง KPI ในเรื่องอุบติเหตุที่จะลดให้เป็น 0 มันเป็นไปไม่ได้ เราควรจะตั้ง KPI เพื่อลดอุบัติเหตุที่กระทบกับลูกค้าให้เป็น 0 จะเหมาะสมกว่า
ซึ่งเมื่อเราตั้ง KPI แล้วจะเกิด 2 มุมมอง
1. มุมทำสำเร็จ : เราควรจะกลับมาตั้งคำถามใหม่ว่า ควรทำให้ดีกว่านี้หรือไม่
2. มุมทำไม่สำเร็จ : หาสาเหตุ
หลักในการนำ KPI ไปใช้ (PICNIC)
P : Period
จะนำ KPI ไปใช้ควรกำหนดด้วยว่าจะวัดตามช่วงเวลาไหน เป็นวัน สัปดาห์ เดือน ไตรมาส ปี
I : Inspect
ตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบแบบ Cross Check กัน
C : Communicate
คือ มีตัว KPI แล้ว แต่คนที่ปฏิบัติไม่รู้ ไม่สื่อสารกัน ซึ่งคนตั้ง KPI อาจไม่ได้สื่อสารให้คนปฏิบัติได้รู้ และให้เขาเข้าใจด้วย
N : Network
เนื่องจาก KPI ไม่ได้ทำเฉพาะหน่วยงานนี้เท่านั้น แต่ต้องมีความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานอื่น เป็น network ภายในองค์กร เช่น การสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า ไม่ได้เกิดที่ฝ่ายขายหรือฝ่ายตลาดเพียงอย่างเดียว มันจะต้องเกิดจากฝ่ายผลิต และฝ่ายอื่นๆ มาร่วมกัน
I : Improve
พัฒนาปรุงปรุงให้ดีขึ้น มองในเชิงของ Dynamic (ถึงมีดีอยู่แล้ว ก็มีการเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับความต้องการของลุกค้าตลอดมากกว่า Static (ยึดกับความความสำเร็จที่เคยได้ทำไว้ แต่ไม่ได้ปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า)
C : Co
ร่วมไม้ร่วมมือ ทำงานเป็นทีม
ซึ่งเมื่อนำหลักการ PICNIC ไปปฏิบัติส่วนใหญ่ 80% ขึ้นไปน่าจะประสบความสำเร็จ แต่ 20% ที่เหลือที่ไม่ประสบความสำเร็จ ส่วนใหญ่จะเกิดจาก Top Management ทีมีนโยบายการบริหารงานที่ยังไม่ดีเพียงพอที่จะสนับสนุนคนปฏิบัติงานด้านล่าง
แต่ในท้ายที่สุดแล้ว ปัจจัยหลักที่สำคัญจริงๆ ที่จะทำให้ KPI ประสบความสำเร็จ คือ การสร้างความพึงพอใจ ให้เกิดขึ้นกับลูกค้าให้ได้ ซึ่งน่าจะเป็นประเด็นหลักๆ กับทั่วทั้งองค์กร แต่ที่จะแตกต่างกันก็คือ การนำ KPI ไปปรับใช้ ให้เป็นตัววัดที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในรายละเอียดการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายแต่ละแผนก เช่น ถ้า Logistic ก็เกี่ยวกับเรื่องควบคุม ต้นทุนค่าใช้จ่ายการเดินทาง พวกน้ำมัน เป็นต้น เพื่อสร้างให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจที่สุด
เนื้อหาที่เกี่ยวเนื่อง :
การบริหารโซ่อุปทานในภาคอุตสาหกรรม (Supply Chain Management in Industrial Sector)
LPI (Logistic Performance Index)
Logistic Cost
ซึ่งเมื่อเราตั้ง KPI แล้วจะเกิด 2 มุมมอง
1. มุมทำสำเร็จ : เราควรจะกลับมาตั้งคำถามใหม่ว่า ควรทำให้ดีกว่านี้หรือไม่
2. มุมทำไม่สำเร็จ : หาสาเหตุ
หลักในการนำ KPI ไปใช้ (PICNIC)
P : Period
จะนำ KPI ไปใช้ควรกำหนดด้วยว่าจะวัดตามช่วงเวลาไหน เป็นวัน สัปดาห์ เดือน ไตรมาส ปี
I : Inspect
ตรวจสอบ เป็นการตรวจสอบแบบ Cross Check กัน
C : Communicate
คือ มีตัว KPI แล้ว แต่คนที่ปฏิบัติไม่รู้ ไม่สื่อสารกัน ซึ่งคนตั้ง KPI อาจไม่ได้สื่อสารให้คนปฏิบัติได้รู้ และให้เขาเข้าใจด้วย
N : Network
เนื่องจาก KPI ไม่ได้ทำเฉพาะหน่วยงานนี้เท่านั้น แต่ต้องมีความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานอื่น เป็น network ภายในองค์กร เช่น การสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า ไม่ได้เกิดที่ฝ่ายขายหรือฝ่ายตลาดเพียงอย่างเดียว มันจะต้องเกิดจากฝ่ายผลิต และฝ่ายอื่นๆ มาร่วมกัน
I : Improve
พัฒนาปรุงปรุงให้ดีขึ้น มองในเชิงของ Dynamic (ถึงมีดีอยู่แล้ว ก็มีการเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับความต้องการของลุกค้าตลอดมากกว่า Static (ยึดกับความความสำเร็จที่เคยได้ทำไว้ แต่ไม่ได้ปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า)
C : Co
ร่วมไม้ร่วมมือ ทำงานเป็นทีม
ซึ่งเมื่อนำหลักการ PICNIC ไปปฏิบัติส่วนใหญ่ 80% ขึ้นไปน่าจะประสบความสำเร็จ แต่ 20% ที่เหลือที่ไม่ประสบความสำเร็จ ส่วนใหญ่จะเกิดจาก Top Management ทีมีนโยบายการบริหารงานที่ยังไม่ดีเพียงพอที่จะสนับสนุนคนปฏิบัติงานด้านล่าง
แต่ในท้ายที่สุดแล้ว ปัจจัยหลักที่สำคัญจริงๆ ที่จะทำให้ KPI ประสบความสำเร็จ คือ การสร้างความพึงพอใจ ให้เกิดขึ้นกับลูกค้าให้ได้ ซึ่งน่าจะเป็นประเด็นหลักๆ กับทั่วทั้งองค์กร แต่ที่จะแตกต่างกันก็คือ การนำ KPI ไปปรับใช้ ให้เป็นตัววัดที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในรายละเอียดการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายแต่ละแผนก เช่น ถ้า Logistic ก็เกี่ยวกับเรื่องควบคุม ต้นทุนค่าใช้จ่ายการเดินทาง พวกน้ำมัน เป็นต้น เพื่อสร้างให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจที่สุด
เนื้อหาที่เกี่ยวเนื่อง :
การบริหารโซ่อุปทานในภาคอุตสาหกรรม (Supply Chain Management in Industrial Sector)
LPI (Logistic Performance Index)
Logistic Cost
Comments
Post a Comment