102 บทเรียนการคิดสร้างสรรค์ทางธุรกิจ ของ Edison ในบทความนี้เป็นตัวอย่างบางข้อที่ได้หยิบยกมาอธิบายเพิ่มเติม เกี่ยวกับแนวควรามคิดของ Edison ว่ามีหลักการคิด เพื่อก่อให้เกิดสิ่งที่สร้างสรรค์บนโลกใบนี้ ได้อย่างไร เพื่อให้เราผู้ประกอบการหรือ SME ได้นำไปปรับใช้ในการดำเนินธุรกิจได้
1. Stop Thinking & Act Like a Genius :
จงหยุดคิดและทำ เหมือนตัวเองเป็นดั่งอัจฉริยะ เพราะคนส่วนใหญ่เชื่อว่า คนเกิดมาเป็นอัจฉริยะ และบอกว่าตนเองไม่ได้เกิดมาเป็น genius และอย่างน้อยถึงฉันไม่ได้เป็นอัจฉริยะ ฉันมีความสุขได้ แต่ในขณะเดียวกันอีกความคิดหนึ่งของคุณ ก็คือว่าอัจฉริยะ เป็นคน creative และมักจะมีความคิดดีๆ ขึ้นมาอย่างฉับพลัน ซึ่งคุณไม่สามารถทำอย่างนั้นได้
2. Experiment is everything :
ทดลองทุกอย่าง อยากจะทำไรต้องทดลอง ซึ่งต่อเนื่องจากข้อหนึ่งที่หยุดคิดแล้วทำ
3. จงเป็นคนที่เหมือนอยู่อีกทศวรรษหนึ่ง
4. Knowing : ค
วามรู้ไม่ได้เป็นจุดสิ้นสุดในตัวมันเอง ถึงแม้คนจะรู้แล้วนั้นแต่มันยังไม่จบ มันจะต้องมี Creative Knowledge คือ เป็นการรู้ถึงศักยภาพของสิ่งต่างๆ หลายสิ่งที่มีอยู่ หรือเป็นการคิดต่อยอดในสิ่งที่ตัวเองรู้ รู้พลังธรรมชาติ รู้องค์ประกอบ เพื่อนำสิ่งต่างๆ เหล่านี้ มาผสมผสาน สร้างสิ่งใหม่ขึ้นมา
5. See it :
เห็นถึงโอกาส เห็นถึงศักยภาพของสิ่งต่างๆ และสามารถพัฒนาสิ่งใหม่ๆ ออกมาได้ เนื่องจากการมีนิสัยที่ชอบอ่าน การเห็นของ Edisonนั้นจะประกอบไปด้วยสองส่วนทั้งซ้ายและขวา เห็นครั้งแรกแล้วเกิดเป็น Idea สมองซีกซ้าย ต่อจากนั้นใช้สมองซีกขวาซึ่งเป็นความรู้และทฤษฎีต่างๆ ที่ได้ศึกมา นำมาจับ จึงสามารถเห็นสิ่งต่อๆไปได้ ซึ่งคำแนะนำ ในตรงนี้ คือ ทำในสิ่งที่ตัวเองถนัดนั่นเอง
6. Working Bottom Up :
เป็นวิธีการทำงานจากล่างขึ้นไปบน โดยวิธีการดังกล่าวเป็นต้นแบบของการทำ R&D
7. Identify Market :
ระบุตลาด ซึ่งเป็นวิธีคิดของผู้ประกอบการ โดยตั้งคำถามก่อนว่าลูกค้ามีความต้องการอะไร หรือเขามีปัญหาอะไรในการดำเนินชีวิต
ที่เราสามารถเขาไปแก้ไขปัญหาได้ โดยแรกเริ่มจะวิจัยหาตลาดใหม่ที่มีศักยภาพก่อน (Potential New Market) จากนั้นก็จะทำการเก็บข้อมูลดิบ โดยดูจากยอดขายประจำปีของสินค้าหลากหลาย ถ้าเขานำไปพัฒนาต่อ จะมีศักยภาพมากไหม และจะมุ่งไปที่ตลาดที่ไม่มีใครเข้าไป (Blue Ocean)เราต้องหาตลาดที่ไม่เคยมีใครเข้าไปมาก่อน และเป็นตลาดที่มีศักยภาพ
เนื้อหาที่เกี่ยวเนื่อง :
ผ่าแนวคิด Drucker (Inside Drucker's Brain) โดย อ.สมภพ เจริญกุล
หลักในการมองโลกในแง่ดี (Positive Thinking)
เรียนรู้เพื่อให้ได้ความคิดใหม่กับ โชค บูลกุล
1. Stop Thinking & Act Like a Genius :
จงหยุดคิดและทำ เหมือนตัวเองเป็นดั่งอัจฉริยะ เพราะคนส่วนใหญ่เชื่อว่า คนเกิดมาเป็นอัจฉริยะ และบอกว่าตนเองไม่ได้เกิดมาเป็น genius และอย่างน้อยถึงฉันไม่ได้เป็นอัจฉริยะ ฉันมีความสุขได้ แต่ในขณะเดียวกันอีกความคิดหนึ่งของคุณ ก็คือว่าอัจฉริยะ เป็นคน creative และมักจะมีความคิดดีๆ ขึ้นมาอย่างฉับพลัน ซึ่งคุณไม่สามารถทำอย่างนั้นได้
2. Experiment is everything :
ทดลองทุกอย่าง อยากจะทำไรต้องทดลอง ซึ่งต่อเนื่องจากข้อหนึ่งที่หยุดคิดแล้วทำ
3. จงเป็นคนที่เหมือนอยู่อีกทศวรรษหนึ่ง
4. Knowing : ค
วามรู้ไม่ได้เป็นจุดสิ้นสุดในตัวมันเอง ถึงแม้คนจะรู้แล้วนั้นแต่มันยังไม่จบ มันจะต้องมี Creative Knowledge คือ เป็นการรู้ถึงศักยภาพของสิ่งต่างๆ หลายสิ่งที่มีอยู่ หรือเป็นการคิดต่อยอดในสิ่งที่ตัวเองรู้ รู้พลังธรรมชาติ รู้องค์ประกอบ เพื่อนำสิ่งต่างๆ เหล่านี้ มาผสมผสาน สร้างสิ่งใหม่ขึ้นมา
5. See it :
เห็นถึงโอกาส เห็นถึงศักยภาพของสิ่งต่างๆ และสามารถพัฒนาสิ่งใหม่ๆ ออกมาได้ เนื่องจากการมีนิสัยที่ชอบอ่าน การเห็นของ Edisonนั้นจะประกอบไปด้วยสองส่วนทั้งซ้ายและขวา เห็นครั้งแรกแล้วเกิดเป็น Idea สมองซีกซ้าย ต่อจากนั้นใช้สมองซีกขวาซึ่งเป็นความรู้และทฤษฎีต่างๆ ที่ได้ศึกมา นำมาจับ จึงสามารถเห็นสิ่งต่อๆไปได้ ซึ่งคำแนะนำ ในตรงนี้ คือ ทำในสิ่งที่ตัวเองถนัดนั่นเอง
6. Working Bottom Up :
เป็นวิธีการทำงานจากล่างขึ้นไปบน โดยวิธีการดังกล่าวเป็นต้นแบบของการทำ R&D
7. Identify Market :
ระบุตลาด ซึ่งเป็นวิธีคิดของผู้ประกอบการ โดยตั้งคำถามก่อนว่าลูกค้ามีความต้องการอะไร หรือเขามีปัญหาอะไรในการดำเนินชีวิต
ที่เราสามารถเขาไปแก้ไขปัญหาได้ โดยแรกเริ่มจะวิจัยหาตลาดใหม่ที่มีศักยภาพก่อน (Potential New Market) จากนั้นก็จะทำการเก็บข้อมูลดิบ โดยดูจากยอดขายประจำปีของสินค้าหลากหลาย ถ้าเขานำไปพัฒนาต่อ จะมีศักยภาพมากไหม และจะมุ่งไปที่ตลาดที่ไม่มีใครเข้าไป (Blue Ocean)เราต้องหาตลาดที่ไม่เคยมีใครเข้าไปมาก่อน และเป็นตลาดที่มีศักยภาพ
เนื้อหาที่เกี่ยวเนื่อง :
ผ่าแนวคิด Drucker (Inside Drucker's Brain) โดย อ.สมภพ เจริญกุล
หลักในการมองโลกในแง่ดี (Positive Thinking)
เรียนรู้เพื่อให้ได้ความคิดใหม่กับ โชค บูลกุล
Comments
Post a Comment