เป็นที่รับรู้กันว่า การแบ่งคนในองค์กรสามารถที่จะแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ (ตามแม่ทัพชาวเยอรมัน ที่เคยแบ่งไว้)
กลุ่มทีหนึ่ง โง่และขยัน ควรกำจัดและเอาออก
กลุ่มที่สอง โง่และขี้เกียจ ให้เป็นพนักงานประจำ ซึ่งจะมีประมาณ 90%
กลุ่มที่สาม ฉลาดและขีเกียจ ให้เป็นตำแหน่งสูงสุด เพราะคุมอารมณ์และจัดการสถานการณ์ได้ดี ซึ่งจะเป็นเสนาธิการ
กลุ่มที่สี่ ฉลาดและขยัน : จะเป็นผู้บังคับบัญชา
แต่สำหรับคุณโชคนั้นมีหลักการแบ่งคนของตัวเอง ออกเป็น 4 ประเภท เช่นเดียวกัน โดยจะแบ่งตามความถนัดและความชอบของแต่ละคน ซึ่งคุณโชคมองว่าการแบ่งคนตามหลักเกณฑ์จะทำให้คนทำงานมีความสุข เพราะสามารถได้ทำงานในด้านที่ตัวเองชอบที่ตัวเองถนัด ทำให้งานออกมามีคุณภาพ โดยการแบ่งดั่งกล่าว ประกอบไปด้วย
กลุ่มที่หนึ่ง นักวางแผน
กลุ่มที่สอง ศิลปิน
กลุ่มที่สาม นักจัดการ
กลุ่มที่สี่ นักสถิติ
ซึ่งคนโชคจะ test เพื่อแบ่งคนตามงานได้อย่างถูกต้อง เพราะถ้าเราแบ่งคนได้ตามงานที่คนชอบที่เขาถนัด การทำงานก็จะมีความสุข
นอกจากนี้ คุณโชคมองว่า การแบ่งคนในข้างต้น เช่น โง่และขยัน มันต้องย้อนกลับมาถามว่า HR รับเข้ามาทำไหม โดยเราต้องไปดูที่ต้นเหตุมากกว่าจะแก้ที่ปลายเหตุ ซึ่งถ้าศักยภาพในองค์กรเรามันไม่ดี ต้องไปดูว่าวิธีการสรรหาของคนเรามันมีประสิทธิภาพหรือไม่ และการทดลองงานของเรามันมีประสิทธิภาพจริงหรือไม่ โดยคุณโชค เชื่อว่าระบบสรรหาขององค์กรของคุณโชคนั้นสามารถที่จะคัดกรองคนประเภทโง่และขยันหรือโง่และขี้เกียจ ส่วนฉลาดและขี้เกียจ คุณโชคคิดว่าทุกองค์กรจะต้องมี ซึ่งองค์กรจะต้องมีนโยบายในการที่จะบริหารคนเหล่านี้
ส่วนองค์กรที่มีคนฉลาดและขยัน จะเป็นคนส่วนน้อยในองค์กร ซึ่งในองค์กรคุณโชคจะเป็นกลุ่มคนผู้บริหารซะส่วนใหญ๋ ประมาณ 10% ซึ่งคนส่วนใหญ่จะเป็นคน ฉลาดและขี้เกียจ เพราะเป็นธรรมชาติของคนไทยที่ไม่ค่อยมีวินัย ซึ่งคำว่ามีวินัยสำคัญมาก เพราะคนเก่งไม่ว่าจะเก่งแค่ไหน แต่ถ้าไม่มีวินัยก็ไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ แต่ถ้าใครก็ตามที่ไม่ค่อยฉลาดมาก แต่มีวินัย ไม่อดตายแน่นอน ซึ่งวินัย ถือเป็นเรื่องใหญ่ ที่คนไทยเรายังขาดไปอยู่ ฉะนั้น การคัดเลือกบุคคลากรจะไม่ใช่แค่งานของ HR หรือบุคคล แต่ต้องเป็นเรื่องของผู้นำที่ต้องเกี่ยวข้องด้วย
กลับมาพูดถึง คนประเภทโง่และขี้เกียจ คุณโชคมองว่าในองค์กรปัจจุบัน อาจจะไม่ได้เรียกว่า โง่ แต่อาจะจะเรียกได้ว่า ไม่ค่อยฉลาดเท่าไหร่ ซึ่งคำว่า โง่ นั้น คุณโชคจะมีวิธีการมอง โดยจะพิจาราณาว่า ถ้ามีคนทำผิดพลาดขึ้น ครั้งที่หนึ่งจะถือว่าเป็นครู ถ้ามีครั้งที่สอง ให้หยุด แล้วมอง พิจารณาตัวเองว่ามีอะไรที่ผิดพลาด แต่ถ้ามีผิดครั้งที่สาม คนประเภทนี้แหล่ะที่คุณโชคจะมองว่าโง่ แล้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่คุณโชค เขียนแปะไว้ในองค์กรด้วย
บทความที่เกี่ยวกับ โชค บูลกุล :
ทำงานให้สำเร็จลุล่วง (Execution) โดยโชค บูลกุล
วิธีบริหารลูกน้องของโชค บูลกุล
ผู้นำ สร้างได้หรือไม่ โดยโชค บูลกุล (Leader can make ?)
กลุ่มทีหนึ่ง โง่และขยัน ควรกำจัดและเอาออก
กลุ่มที่สอง โง่และขี้เกียจ ให้เป็นพนักงานประจำ ซึ่งจะมีประมาณ 90%
กลุ่มที่สาม ฉลาดและขีเกียจ ให้เป็นตำแหน่งสูงสุด เพราะคุมอารมณ์และจัดการสถานการณ์ได้ดี ซึ่งจะเป็นเสนาธิการ
กลุ่มที่สี่ ฉลาดและขยัน : จะเป็นผู้บังคับบัญชา
แต่สำหรับคุณโชคนั้นมีหลักการแบ่งคนของตัวเอง ออกเป็น 4 ประเภท เช่นเดียวกัน โดยจะแบ่งตามความถนัดและความชอบของแต่ละคน ซึ่งคุณโชคมองว่าการแบ่งคนตามหลักเกณฑ์จะทำให้คนทำงานมีความสุข เพราะสามารถได้ทำงานในด้านที่ตัวเองชอบที่ตัวเองถนัด ทำให้งานออกมามีคุณภาพ โดยการแบ่งดั่งกล่าว ประกอบไปด้วย
กลุ่มที่หนึ่ง นักวางแผน
กลุ่มที่สอง ศิลปิน
กลุ่มที่สาม นักจัดการ
กลุ่มที่สี่ นักสถิติ
ซึ่งคนโชคจะ test เพื่อแบ่งคนตามงานได้อย่างถูกต้อง เพราะถ้าเราแบ่งคนได้ตามงานที่คนชอบที่เขาถนัด การทำงานก็จะมีความสุข
นอกจากนี้ คุณโชคมองว่า การแบ่งคนในข้างต้น เช่น โง่และขยัน มันต้องย้อนกลับมาถามว่า HR รับเข้ามาทำไหม โดยเราต้องไปดูที่ต้นเหตุมากกว่าจะแก้ที่ปลายเหตุ ซึ่งถ้าศักยภาพในองค์กรเรามันไม่ดี ต้องไปดูว่าวิธีการสรรหาของคนเรามันมีประสิทธิภาพหรือไม่ และการทดลองงานของเรามันมีประสิทธิภาพจริงหรือไม่ โดยคุณโชค เชื่อว่าระบบสรรหาขององค์กรของคุณโชคนั้นสามารถที่จะคัดกรองคนประเภทโง่และขยันหรือโง่และขี้เกียจ ส่วนฉลาดและขี้เกียจ คุณโชคคิดว่าทุกองค์กรจะต้องมี ซึ่งองค์กรจะต้องมีนโยบายในการที่จะบริหารคนเหล่านี้
ส่วนองค์กรที่มีคนฉลาดและขยัน จะเป็นคนส่วนน้อยในองค์กร ซึ่งในองค์กรคุณโชคจะเป็นกลุ่มคนผู้บริหารซะส่วนใหญ๋ ประมาณ 10% ซึ่งคนส่วนใหญ่จะเป็นคน ฉลาดและขี้เกียจ เพราะเป็นธรรมชาติของคนไทยที่ไม่ค่อยมีวินัย ซึ่งคำว่ามีวินัยสำคัญมาก เพราะคนเก่งไม่ว่าจะเก่งแค่ไหน แต่ถ้าไม่มีวินัยก็ไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ แต่ถ้าใครก็ตามที่ไม่ค่อยฉลาดมาก แต่มีวินัย ไม่อดตายแน่นอน ซึ่งวินัย ถือเป็นเรื่องใหญ่ ที่คนไทยเรายังขาดไปอยู่ ฉะนั้น การคัดเลือกบุคคลากรจะไม่ใช่แค่งานของ HR หรือบุคคล แต่ต้องเป็นเรื่องของผู้นำที่ต้องเกี่ยวข้องด้วย
กลับมาพูดถึง คนประเภทโง่และขี้เกียจ คุณโชคมองว่าในองค์กรปัจจุบัน อาจจะไม่ได้เรียกว่า โง่ แต่อาจะจะเรียกได้ว่า ไม่ค่อยฉลาดเท่าไหร่ ซึ่งคำว่า โง่ นั้น คุณโชคจะมีวิธีการมอง โดยจะพิจาราณาว่า ถ้ามีคนทำผิดพลาดขึ้น ครั้งที่หนึ่งจะถือว่าเป็นครู ถ้ามีครั้งที่สอง ให้หยุด แล้วมอง พิจารณาตัวเองว่ามีอะไรที่ผิดพลาด แต่ถ้ามีผิดครั้งที่สาม คนประเภทนี้แหล่ะที่คุณโชคจะมองว่าโง่ แล้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่คุณโชค เขียนแปะไว้ในองค์กรด้วย
บทความที่เกี่ยวกับ โชค บูลกุล :
ทำงานให้สำเร็จลุล่วง (Execution) โดยโชค บูลกุล
วิธีบริหารลูกน้องของโชค บูลกุล
ผู้นำ สร้างได้หรือไม่ โดยโชค บูลกุล (Leader can make ?)
Comments
Post a Comment