Business
- ตอนนี้แนวโน้ม จะดูจากลักษณะราคามากว่าลักษณะสินค้าแล้ว ทำให้ House Brand ได้รับความนิยมมากขึ้น
- Market share ของ Beauty Drink ตอนนี้ มีประมาณ 61% ของยอดขายเครื่องดื่มประเภทเดียวกันใน 7-11
- 3F ที่จะก่อให้เกิดความปั่นป่วนของโลกได้
1. Food : ในอนาคตจะเป็นตัวสำคัญ เนื่องจาก โลกจะคาดแคลนอาหาร
2. Fuel
3. Finance
-มูลค่าของตลาดเบียร์ราคาประหยัด (market share) 87,000 กว่าล้าน เป็น เบียร์ลีโอ 42.7% เบียร์ช้าง 38.5% เบียร์อาชา 17.9% และอื่นๆ อีก 0.9%
- หน้าที่ของผู้นำ คือ การจัดการและบริหารคนเก่ง คนฉลาด ให้ได้ ถึงแม้แต่ละคนจะมีอีโก้สูง ทำให้ทำงานเป็นทีมลำบาก เช่น Steve Job จะมีหน้าที่หลักสำคัญ คือ การบริหารคนเก่งในองค์กร ให้สามารถทำงานร่วมกันได้
- Trend สินค้าต่อไปจะเป็นแบบ Budget Product/service (หรือที่เรียกว่า Low Cost) โดย Budget ในแง่ของลูกค้า แต่ Low Cost จะมองในแง่ผู้ประกอบการ
Positioning
- สิ่งหนึ่งที่สำคัญของเราในการดำเนินชีวิต คือ การ Positioning ตัวเองให้ได้ว่าจะอยู่ที่จุดไหน ซึ่งโดยทั่วไปการ Positioning จะมี 2 แนวความคิด
แนวความคิดที่ 1 เป็นแนวการตลาด และ โฆษณา (Jack Troch) เป็น Marketing Positioning หรือ Product Positioning
แนวความคิดที่ 2 เป็นแนวกลยุทธ์ (Michale E.Porter) เป็น Strategy Positioning หรือ Competitive Position วางตำแหน่งแล้วต้องได้เปรียบ
- เวลาสถานการณ์เปลี่ยน โดยตาม Jack Trout จะมีอยู่ 3C (Customer, Change, Crisis) แต่ถ้าเป็นอีกแนวความคิดหนึ่ง 3C (Company, Customer, Competition) ซึ่งวิกฤตจะทำให้การแข่งขันเข้มข้น พฤติกรรมของผู้บริโภค (C Customer) จะทำให้ความได้เปรียบเดิมๆ ใช้ไม่ได้แล้ว ลูกค้าอาจจะกลายเป็นผู้กำหนดรูปแบบสินค้าของเราเอง (Customer Lead Innovation) เช่น น้ำยาอุทัย เป็นต้น
- การที่เราจะ Rebranding เราต้อง Repositioning ด้วย เพราะ รสนิยมผู้บริโภคเปลี่ยน หรือลูกค้าเคลื่อนตัวไปสู่เส้นโค้งใหม่ เราจึงต้องเปลี่ยนหรือคู่แข่งขันที่มีแรงวิ่งมากกว่าเรา
- Raplexity คือ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและซ้ำซ้อน
- Repositioning คือ เป็นการปรับหาตำแหน่งใหม่ที่อยู่ในหัวของคน โดยให้ลูกค้าจดจำได้
- ท่านต้องมี Second Life ชีวิตที่สอง ในการดำเนินชีวิต โดยเป็นการ Repositioning Specialist หาจุดที่ตัวเองถนัด แล้ววางตำแหน่งที่เชี่ยวชาญทางด้านนั้น จนกลายเป็น ชีวิตที่สองได้
- การ Repositioning ของ Jack Trout
1. Repositioning Core Compentency หรือ Repositioning Specialist
2. Repositioning Strategy
Strategics
- การวางแผนการทำธุรกิจ คุณต้องนำ Structure ตาม Strategy
- จากทฤษฏีการตลาดของ Michale E.Porter ที่บอกว่า ธุรกิจไหนก็ตาม ตลาดในประเทศต้องเข้มแข็งก่อน ถึงจะบุกไปตลาดต่างประเทศได้ เช่น ตลาดรถปิคอัพบ้านเราที่มีส่งออกมากเป็น ลำดับ 2-3 ของโลก ก็เนื่องจาก ประเทศเรามีตลาดที่ใหญ่มาก จากการที่มีความต้องการที่มากจนทำให้ผู้ผลิตรายใหญ่ย้านฐานการผลิตมายังประเทศไทย ทำให้การผลิตยิ่งเกิดประหยัดจากขนาดมากขึ้น (Economic of Scale) ซึ่งจากกลยุทธ์
ดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการกีฬา เช่น การจัดลีคฟุตบอลไทย เพื่อสร้างความเข้งแข็งให้เกิดขึ้นกับตลาดฟุตบอลไทยก่อน
- Generic Name : ชื่อ Brand ที่เรียกแทนชนิดสินค้านั้นๆ เช่น แฟ้บ (ผงซักฟอก), Xerox (ถ่ายเอกสาร), ม่าม่า (บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป) ซึ่งเกิดจากการเข้ามาเป็นรายแรกในตลาด ในทางธุรกิจ ผู้ที่เข้าตลาดเป็นคนแรกจะมีความได้เปรียบ (First Mover Advantage)
- คนที่เรียนรู้โดยไม่คิด จะหลงทางและล้มเหลว ส่วนคนที่คิดโดยไม่เรียนจะประสบอันตรายอย่างใหญ่หลวง (ขงจื้อ)
- เข้าใจในผู้อื่น คือ ผู้มีสติปัญญา เข้าใจในตัวเอง คือ ผู้รู้แจ้ง (ขงจื้อ)
- ปัจจุบัน Brand ของ Coke มีมูลค่าสูงสุด ซึ่งเอกลักษณ์ที่สำคัญของ Coke คือ ขวด (บรรจุภัณฑ์) ทำให้ผู้บริโภครู้สึกว่ากินแล้วอร่อย เหมือน เช่น ยาคูลท์ ที่มีขวดเป็นเอกลักษณ์เช่นกัน หรือไม่ก็ขวดไวตามิลค์เช่นกัน ซึ่งจะเห็นได้ว่าถึงแม้จะออกบรรจุภัณฑ์เพิ่มมาอีก แต่ก็ยังคงบรรจุภัณฑ์เดิมเอาไว้ เนื่องจาก ถือว่าเป็น Identity ของ Brand เลย
- ถ้าคุณจะประสบความสำเร็จ คุณจะต้องเข้าใจให้ได้ก่อนว่า Stackholder คิด รู้สึก มีพฤติกรรมอย่างไร ซึ่งมันจะไปกำหนดทิศทางขององค์กรคุณซึ่ง Stackholder ก็จะประกอบไปด้วย ลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน Supplier สื่อ สังคม แต่ส่งที่สำคัญที่สุด คือ ลูกค้า ซึ่งคนจะต้องรู้ว่าเขาคิดอย่างไร
รู้สึกอย่างไร มีพฤติกรรมอย่างไร ซึ่งมันจะเป็นตัวชี้ทิศให้องค์กรของคุณ
- Offering ที่ทำให้เกิดความแตกต่าง จะเป็นการดึงลูกค้าใหม่เข้ามา เช่น ประกัน มาเร็ว เคลมเร็ว ไปเร็ว
- เวลาเราจะแบ่ง segment ออกเป็นส่วนๆ หาวิธีแบ่งโดยใช้ lifestyle ถึงจะดี
การสร้างความแตกต่าง (Differentiate)
ถ้าพูดถึง product จะมีอยู่ 2 แบบ คือ
1. จับต้องได้ : เป็นสิ่งที่ให้ลูกค้า
2. จับต้องไม่ได้ : เป็นสิ่งที่ลูกค้าให้กับสินค้าที่ซื้ออยู่ในใจ
- เราต้องรู้ก่อนว่า Offering (สิ่งที่เรานำเสนอต่อลูกค้า) ของเรา คืออะไร
- Generic Product (สินค้าสามัญทั่วไป) : ขายกาแฟ สินค้าก็คือ กาแฟที่ดื่ม, ขายบ้าน ก็คือ บ้านและที่ดิน, เป็นสินค้าที่มีตัวตนจับต้องได้เลย
เป็นสินค้าที่จับต้องได้โดยตรงจากชื่อเลย ซึ่งการตีโจทย์ สินค้าที่เราจะขายเฉพาะแบบนี้มันไม่พอ คนอื่นก็ขายได้ ไม่มีความแตกต่าง เราจึง
ต้องสร้างความแตกต่าง
- Expected Product (สินค้าที่ผู้บริโภคคาดหวังว่าจะได้) : ซึ่งถ้าเราตีโจทย์สินค้าของเราตามประเภทนี้เราจะสามารถสร้างความแตกต่างได้ซึ่งความคาดหวังจะแตกต่างไปตามผู้บริโภคหรือลูกค้า
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy)
เกาหลีใต้
1. เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) ส่วนใหญ่จะเกิดจากธุรกิจบันเทิง (Entertainment Economy) ซึงจะเป็นสิ่งที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยพื้นฐานแล้ววงการบันเทิง อยู่บนพื้นฐานแห่งความคิดสร้างสรรค์อยู่แล้ว
2. ซึ่งธุรกิจศักยกรรมในเกาหลีใต้ จึงกลายเป็น creative economy ไปด้วย ตามธุรกิจ Entertainment
3. ในเกาหลีจะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านนี้โดยตรงคือ หน่วยงาน KOCCA ตั้งขึ้นเมื่อปี 2544 โดยสินค้าที่นำมาใช้ในการต่อยอดเพื่อสร้าง Creative Economic ก็คือ สินค้าบันเทิง (รวมทั้งเกมส์ด้วย) และสินค้าวัฒนธรรม ซึ่งกลายเป็นเป็นการสร้างมูลค่าใหม่
บทความที่เกี่ยวเนื่อง :
บทความ Business Knowledge ล่าสุด
เศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Sufficiency Economy and Creative Economy)
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย โดย ดร. ตีรณ พงษ์มฆพัฒน์
First to Market Strategy (กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเป็นคนแรก)
- ตอนนี้แนวโน้ม จะดูจากลักษณะราคามากว่าลักษณะสินค้าแล้ว ทำให้ House Brand ได้รับความนิยมมากขึ้น
- Market share ของ Beauty Drink ตอนนี้ มีประมาณ 61% ของยอดขายเครื่องดื่มประเภทเดียวกันใน 7-11
- 3F ที่จะก่อให้เกิดความปั่นป่วนของโลกได้
1. Food : ในอนาคตจะเป็นตัวสำคัญ เนื่องจาก โลกจะคาดแคลนอาหาร
2. Fuel
3. Finance
-มูลค่าของตลาดเบียร์ราคาประหยัด (market share) 87,000 กว่าล้าน เป็น เบียร์ลีโอ 42.7% เบียร์ช้าง 38.5% เบียร์อาชา 17.9% และอื่นๆ อีก 0.9%
- หน้าที่ของผู้นำ คือ การจัดการและบริหารคนเก่ง คนฉลาด ให้ได้ ถึงแม้แต่ละคนจะมีอีโก้สูง ทำให้ทำงานเป็นทีมลำบาก เช่น Steve Job จะมีหน้าที่หลักสำคัญ คือ การบริหารคนเก่งในองค์กร ให้สามารถทำงานร่วมกันได้
- Trend สินค้าต่อไปจะเป็นแบบ Budget Product/service (หรือที่เรียกว่า Low Cost) โดย Budget ในแง่ของลูกค้า แต่ Low Cost จะมองในแง่ผู้ประกอบการ
Positioning
- สิ่งหนึ่งที่สำคัญของเราในการดำเนินชีวิต คือ การ Positioning ตัวเองให้ได้ว่าจะอยู่ที่จุดไหน ซึ่งโดยทั่วไปการ Positioning จะมี 2 แนวความคิด
แนวความคิดที่ 1 เป็นแนวการตลาด และ โฆษณา (Jack Troch) เป็น Marketing Positioning หรือ Product Positioning
แนวความคิดที่ 2 เป็นแนวกลยุทธ์ (Michale E.Porter) เป็น Strategy Positioning หรือ Competitive Position วางตำแหน่งแล้วต้องได้เปรียบ
- เวลาสถานการณ์เปลี่ยน โดยตาม Jack Trout จะมีอยู่ 3C (Customer, Change, Crisis) แต่ถ้าเป็นอีกแนวความคิดหนึ่ง 3C (Company, Customer, Competition) ซึ่งวิกฤตจะทำให้การแข่งขันเข้มข้น พฤติกรรมของผู้บริโภค (C Customer) จะทำให้ความได้เปรียบเดิมๆ ใช้ไม่ได้แล้ว ลูกค้าอาจจะกลายเป็นผู้กำหนดรูปแบบสินค้าของเราเอง (Customer Lead Innovation) เช่น น้ำยาอุทัย เป็นต้น
- การที่เราจะ Rebranding เราต้อง Repositioning ด้วย เพราะ รสนิยมผู้บริโภคเปลี่ยน หรือลูกค้าเคลื่อนตัวไปสู่เส้นโค้งใหม่ เราจึงต้องเปลี่ยนหรือคู่แข่งขันที่มีแรงวิ่งมากกว่าเรา
- Raplexity คือ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและซ้ำซ้อน
- Repositioning คือ เป็นการปรับหาตำแหน่งใหม่ที่อยู่ในหัวของคน โดยให้ลูกค้าจดจำได้
- ท่านต้องมี Second Life ชีวิตที่สอง ในการดำเนินชีวิต โดยเป็นการ Repositioning Specialist หาจุดที่ตัวเองถนัด แล้ววางตำแหน่งที่เชี่ยวชาญทางด้านนั้น จนกลายเป็น ชีวิตที่สองได้
- การ Repositioning ของ Jack Trout
1. Repositioning Core Compentency หรือ Repositioning Specialist
2. Repositioning Strategy
Strategics
- การวางแผนการทำธุรกิจ คุณต้องนำ Structure ตาม Strategy
- จากทฤษฏีการตลาดของ Michale E.Porter ที่บอกว่า ธุรกิจไหนก็ตาม ตลาดในประเทศต้องเข้มแข็งก่อน ถึงจะบุกไปตลาดต่างประเทศได้ เช่น ตลาดรถปิคอัพบ้านเราที่มีส่งออกมากเป็น ลำดับ 2-3 ของโลก ก็เนื่องจาก ประเทศเรามีตลาดที่ใหญ่มาก จากการที่มีความต้องการที่มากจนทำให้ผู้ผลิตรายใหญ่ย้านฐานการผลิตมายังประเทศไทย ทำให้การผลิตยิ่งเกิดประหยัดจากขนาดมากขึ้น (Economic of Scale) ซึ่งจากกลยุทธ์
ดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการกีฬา เช่น การจัดลีคฟุตบอลไทย เพื่อสร้างความเข้งแข็งให้เกิดขึ้นกับตลาดฟุตบอลไทยก่อน
- Generic Name : ชื่อ Brand ที่เรียกแทนชนิดสินค้านั้นๆ เช่น แฟ้บ (ผงซักฟอก), Xerox (ถ่ายเอกสาร), ม่าม่า (บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป) ซึ่งเกิดจากการเข้ามาเป็นรายแรกในตลาด ในทางธุรกิจ ผู้ที่เข้าตลาดเป็นคนแรกจะมีความได้เปรียบ (First Mover Advantage)
- คนที่เรียนรู้โดยไม่คิด จะหลงทางและล้มเหลว ส่วนคนที่คิดโดยไม่เรียนจะประสบอันตรายอย่างใหญ่หลวง (ขงจื้อ)
- เข้าใจในผู้อื่น คือ ผู้มีสติปัญญา เข้าใจในตัวเอง คือ ผู้รู้แจ้ง (ขงจื้อ)
- ปัจจุบัน Brand ของ Coke มีมูลค่าสูงสุด ซึ่งเอกลักษณ์ที่สำคัญของ Coke คือ ขวด (บรรจุภัณฑ์) ทำให้ผู้บริโภครู้สึกว่ากินแล้วอร่อย เหมือน เช่น ยาคูลท์ ที่มีขวดเป็นเอกลักษณ์เช่นกัน หรือไม่ก็ขวดไวตามิลค์เช่นกัน ซึ่งจะเห็นได้ว่าถึงแม้จะออกบรรจุภัณฑ์เพิ่มมาอีก แต่ก็ยังคงบรรจุภัณฑ์เดิมเอาไว้ เนื่องจาก ถือว่าเป็น Identity ของ Brand เลย
- ถ้าคุณจะประสบความสำเร็จ คุณจะต้องเข้าใจให้ได้ก่อนว่า Stackholder คิด รู้สึก มีพฤติกรรมอย่างไร ซึ่งมันจะไปกำหนดทิศทางขององค์กรคุณซึ่ง Stackholder ก็จะประกอบไปด้วย ลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน Supplier สื่อ สังคม แต่ส่งที่สำคัญที่สุด คือ ลูกค้า ซึ่งคนจะต้องรู้ว่าเขาคิดอย่างไร
รู้สึกอย่างไร มีพฤติกรรมอย่างไร ซึ่งมันจะเป็นตัวชี้ทิศให้องค์กรของคุณ
- Offering ที่ทำให้เกิดความแตกต่าง จะเป็นการดึงลูกค้าใหม่เข้ามา เช่น ประกัน มาเร็ว เคลมเร็ว ไปเร็ว
- เวลาเราจะแบ่ง segment ออกเป็นส่วนๆ หาวิธีแบ่งโดยใช้ lifestyle ถึงจะดี
การสร้างความแตกต่าง (Differentiate)
ถ้าพูดถึง product จะมีอยู่ 2 แบบ คือ
1. จับต้องได้ : เป็นสิ่งที่ให้ลูกค้า
2. จับต้องไม่ได้ : เป็นสิ่งที่ลูกค้าให้กับสินค้าที่ซื้ออยู่ในใจ
- เราต้องรู้ก่อนว่า Offering (สิ่งที่เรานำเสนอต่อลูกค้า) ของเรา คืออะไร
- Generic Product (สินค้าสามัญทั่วไป) : ขายกาแฟ สินค้าก็คือ กาแฟที่ดื่ม, ขายบ้าน ก็คือ บ้านและที่ดิน, เป็นสินค้าที่มีตัวตนจับต้องได้เลย
เป็นสินค้าที่จับต้องได้โดยตรงจากชื่อเลย ซึ่งการตีโจทย์ สินค้าที่เราจะขายเฉพาะแบบนี้มันไม่พอ คนอื่นก็ขายได้ ไม่มีความแตกต่าง เราจึง
ต้องสร้างความแตกต่าง
- Expected Product (สินค้าที่ผู้บริโภคคาดหวังว่าจะได้) : ซึ่งถ้าเราตีโจทย์สินค้าของเราตามประเภทนี้เราจะสามารถสร้างความแตกต่างได้ซึ่งความคาดหวังจะแตกต่างไปตามผู้บริโภคหรือลูกค้า
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy)
เกาหลีใต้
1. เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) ส่วนใหญ่จะเกิดจากธุรกิจบันเทิง (Entertainment Economy) ซึงจะเป็นสิ่งที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยพื้นฐานแล้ววงการบันเทิง อยู่บนพื้นฐานแห่งความคิดสร้างสรรค์อยู่แล้ว
2. ซึ่งธุรกิจศักยกรรมในเกาหลีใต้ จึงกลายเป็น creative economy ไปด้วย ตามธุรกิจ Entertainment
3. ในเกาหลีจะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านนี้โดยตรงคือ หน่วยงาน KOCCA ตั้งขึ้นเมื่อปี 2544 โดยสินค้าที่นำมาใช้ในการต่อยอดเพื่อสร้าง Creative Economic ก็คือ สินค้าบันเทิง (รวมทั้งเกมส์ด้วย) และสินค้าวัฒนธรรม ซึ่งกลายเป็นเป็นการสร้างมูลค่าใหม่
บทความที่เกี่ยวเนื่อง :
บทความ Business Knowledge ล่าสุด
เศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Sufficiency Economy and Creative Economy)
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย โดย ดร. ตีรณ พงษ์มฆพัฒน์
First to Market Strategy (กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเป็นคนแรก)
Comments
Post a Comment