วันนี้ทาง ครม. ได้มีมติเห็นชอบในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทยฉบับที่ 2 (พ.ศ.2556-2560) (รายละเอียดยุทธศาสตร์ อ่านต่อด้านล่างครับ) นิ่ถือว่าเป็นเรื่องดีนะครับ ที่รัฐบาลให้ความสำคัญและเตรียมความพร้อมให้กับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรับกับการเิปิด AEC (ถ้าทำได้จริง) เพราะโลจิสติกส์ (Logistics) ถือว่าเป็นยุทธศาสตร์สำคัญอีกเรื่องหนึงของประเทศไทยเรา โดยเฉพาะการขนส่งทางบกที่เรามีข้อได้เปรียบในเรื่องสถานที่ตั้งนั่นเอง มาวันนี้จะขออิงกระแสแผนยุทธศาสตร์กับเค้้าสักหน่อย จึงเป็นที่มาของบทความ 15 เคล็ดลับ ปรับโลจิสติกส์พร้อมก้าวเข้าสู่ AEC ซึ่งเคล็ดลับดังกล่าวสามารถใช้เป็นตัวตรวจสอบให้กับผู้ประกอบการในการปรับเปลี่ยน พัฒนาศักยภาพโลจิสติกส์จากภายในบริษัทกันก่อน เหมือนกับเตรียมความพร้อมของตัวเองก่อนเลย พอเวลาแผนนโยบายยุทธศาตร์ดำเนินไปได้ด้วยดีและประสบผลสำเร็จ เราจะได้เก็บเกี่ยวโอกาสและผลประโยชน์ได้อย่างเต็มที่นั่นเอง
15 เคล็ดลับปรับ Logistics พร้อมก้าวเข้าสู่ AEC
เรื่องการบริหารโซ่อุปทาน (supply chain management)ก่อน ซึ่งก็คือการบริหารการจัดการตั้งแต่ซื้อวัตถุดิบ ผลิต จนสินค้าไปถึงมือลูกค้า ซึ่งแตกต่างจาก Logistic ตรงที่ Supply Chain มันเป็นกิจกรรม ในขณะที่ Logistic เป็นตัวเชื่อมกิจกรรม เพราะฉะนั้นถ้าเรามีกิจกรรม (Supply Chain)ที่ไม่ดี มันเชื่อมอย่างไรก็ไม่ดี เราจะมองที่การเพิ่มคุณค่าให้กับองค์กรธุรกิจ ตลอดโซ่อุปทาน แล้วที่นี้ คุณค่าของโซ๋อุปทาน (Value Supply Chain) มันคืออะไร...
ที่มาของ LEAN นั้น มาจากระบบของ TOYATA ซึ่งในแง่ของการผลิตเรามีการนำ LEAN มาใช้กันมาก แต่ในแง่ของการบริการยังไม่มีเท่าที่ควร แต่ถ้าจะให้ยกตัวอย่างในการนำ LEAN มาใช้ในแง่ของการบริการ ก็คือ การให้บริการของสำนักงานเขต จะเห็นได้ว่าแต่ก่อนต้องใช้เวลาเกือบครึ่งวัน เพราะต้องเดินขึ้นชั้นหนึ่ง ชั้นสอง หรือชั้นสาม แต่พอมาในปัจจุบันที่มีการให้บริการที่รวดเร็วขึ้นมาก เช่น การมาทำบัตรประชาชน ที่ใช้เวลาไม่ถึง 10 นาที รวมทั้งการทำ passport ก็เช่นเดียวกัน ที่มีการให้บริการที่รวดเร็วขึ้น...
ใช้หลักกลยุทธ์ OE-MU-MC (โอ้ มิว แม็ก) OE (Optimise Efficency) เนื่องจากงาน Logistics เป็นอะไรที่วุ่นวาย และมีทั้งกิจกรรมและข้อมูลมากมาย จึงจำเป็นต้องสร้างระบบให้การทำงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจะทำอย่างไรละ, MU (Maximize Utilization) เป็นการนำทรัพย์สิน เครื่องมือต่างๆ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เนื่องจากทรัพยสินเครื่องมือเกี่ยวกับ Logistics มีราคาค่อนข้างสูง เช่น คลังสินค้า รถยนต์ เป็นต้น เราจึงต้องใช้ทรัพย์สินเพื่อสร้างรายได้ให้มากที่สุด แล้วเราจะทำอย่างไร...
ประกอบด้วย S 4 ตัว 1. Standard : การทำ ISO หรือการเน้นไปที่ Customer Requirement ให้ความสำคัญกับความต้องการของลูกค้า ซึ่งต้องปรับตามความต้องการของลูกค้าแต่ละราย ซึ่งเราจะต้องมีพื้นฐานการให้บริการเป็นมาตรฐานหลักก่อน แล้งค่อยไปเพิ่มเติมในลูกค้าแต่ละราย (Mass Customize) 2. Speed : รวดเร็ว เนื่องจากปัจจุบัน จะมี Economy of time (Economy of Speed) เพราะ ถ้าใช้เวลาขนส่งยิ่งนาน จำนวนวัน stock ก็จะเพิ่มขึ้น ซึ่งต้องมีเครื่องมือที่ช่วย 3. Safety : เพราะในเรื่องของ Logistics คือการเคลื่อนย้ายของ ซึ่งทั้งเป็นการดูแลทุกๆที่ ไม่ว่าจะระหว่างขนส่ง ขนส่ง หรือแท้กระทั่งตอนอยู่ในคลังสินค้า ยิ่งขนส่งวัตถุอันตรายยิ่งต้องให้ความปลอดภัยสูงมาก...
เนื่องจาก Logistic จะมีกิจกรรมมากมาย และการจะเป็น LSP (Logistic Service Provider) ต้องทำกิจกรรมเยอะมาก เช่น เราต้องการนำสินค้าจากเมืองไทยไปต่างประเทศ ไม่ใช่ดูแต่เรื่องการขนส่ง แต่ต้องดูตั้งแต่เรื่อง Packaging การดูในเรื่อง Shipping หรือแม้แต่เรื่องเกี่ยวกับด่านศุลกากรต่างๆ อันนี้ก็คือ กิจกรรมที่มีมากมาย ซึ่งการให้บริการแบบครบวงจรจึงมีความสำคัญ หรือที่เรียกว่า Integrated Service Provider...
เวลาเราจะมองทางด้านการเงินนั้น เริ่มแรกเลยจะมองไปที่ ROI (Return on Investment) ผลตอบแทนการลงทุน ซึ่งจะมีอยู่ 2 ฝั่ง ฝั่ง return และฝั่ง Investment ซึ่งไอ้ตัว Return เราก็มองได้ง่ายๆว่า ลงทุนอะไรก็มองไปที่กำไรเป็นตัวตั้ง ส่วนเงินลงทุน คือ Capital เพราะฉะนั้น จับกำไรหารด้วย Capital ก็คือ ROI นั่นเอง แล้วในการทำ Logistic จะทำอย่างไร ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนดีขึ้น ซึ่งเราจะแยกพิจารณออกตาม ส่วนประกอบของ ROI จากที่กล่าวไว้ในข้างต้น คือ...
ในต้นทุน Logistic 100% ของประเทศไทย มีต้นทุนค่าขนส่งถึง 53% (ปี 48-49) หรือถ้าเราจะศึกษาแนวโน้ม Logistic cost ในอนาคต โดยพิจารณาจาก อัตราการเดิบโตของ GDP และอัตราการเติบโตของต้นทุน Logistic ของ USA ตั้งแต่ปี 2002-2005 การเติบโตของ GDP จะมากกว่า Logistic Cost แต่พอปี 2005 ถึงปัจจุบัน การเติบโตของ Logistic Cost เติบโตมากกว่า GDP จะเห็นได้ว่า ต้นทุน Logistic มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้น เกิดอะไรขึ้น?...
การที่ทำให้ระบบการขนส่ง เกิดประสิทธิภาพขึ้นนั้น จะขึ้นอยู่กับบุคคลากรในสายงาน Logistics ที่ควรจะต้องปฏิบัติ คือ 6 RIGHT และ 6 PERFECT นอกจากนี้ ประสิทธิภาพด้านการขนส่ง จะเกิดขึ้นจาก
การใช้สินทรัพย์ที่เรามีอยู่อย่างคุ้มค่า บริหารรถ, พื้นที่ที่เก็บสินค้า เพื่อเพิ่มพื้นที่จัดเรียงให้มากขึ้น ในพื้นที่เท่าเดิม, บริหารเส้นทางเพื่อลดระยะทาง, ลดต้นทุน การดำเนินงาน, ใช้ทรัพย์สิน อย่างคุ้มค่า ถึงแม้ทรัพย์สินจะลดลง, ตกลงอะไรกับลูกค้ามาแล้ว ให้บริการเขาได้ครบหรือไม่, สร้างความพึงพอใจให้เกิดกับลูกค้า...
การจัดตั้ง KPI ในแต่ละธุรกิจจะขึ้นอยู่กับตัวธุรกิจ และความต้องการของลูกค้า (ที่เราไปตกลงกับเขาไว้) เราจะตั้งอย่างไร เช่น การตั้ง KPI ในเรื่องอุบติเหตุที่จะลดให้เป็น 0 มันเป็นไปไม่ได้ เราควรจะตั้ง KPI เพื่อลดอุบัติเหตุที่กระทบกับลูกค้าให้เป็น 0 จะเหมาะสมกว่า ซึ่งเมื่อเราตั้ง KPI แล้วจะเกิด 2 มุมมอง หนึ่งคือ มุมทำสำเร็จ : เราควรจะกลับมาตั้งคำถามใหม่ว่า ควรทำให้ดีกว่านี้หรือไม่ หรือ สองมุมทำไม่สำเร็จ : หาสาเหตุ โดยจะมีหลักในการนำ KPI ไปใช้ใน Logistic คือ PICNIC...
ทำไม E Logistics ถึงมีความสำคัญ ??? 1. เนื่องจากขบวนการ Logistic มันยุ่งวุ่นวายมาก เราจึงต้องใช้ระบบ IT เข้ามาเพื่อทำให้ทุกขึ้นตอนเห็นชัด 2. คนทำ Logistics จะเน้นข้อมูลมาก 3. กิจกรรมต่างๆ ของ Logistics มีมาก ซึ่งมันจะต้องสามารถควบคุมและ Monitor ได้ 4. ถ้าลูกค้าถามมา สามารถตอบได้ว่าของอยู่ตรงไหน เมื่อไหร่จะถึง แล้วระบบ E-Logistics มีอะไรบ้างที่ใช้งานอยู่ มีอยู่ 7 ระบบ คือ PMS, WMS, PhMS, CMS, SMS, MMS และ LMS ...
หลายคนที่อยู่นอกวงการคงสงสัย ว่าไอ้แส้ม้า มันมาเกี่ยวอะไรฟระกับ Logistics แท้จริง มันเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการผันผวนในการบริหารงานโซ่อุปทาน คือในกรณีที่สินค้าขาดหรือสินค้าล้นตลาด เหตุผลก็เพราะเราไม่สามารถรู้ความต้องการของลูกค้า หรือความต้องการถูกแปรปรวนหรือผันผวน ก็ด้วยเพราะการที่โซ่อุปทาน (Supply Chain) มีหลายขั้นตอน ส่วนสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาสินค้าขาดบ้าง เกินบ้าง ก็คือ แต่ละหน่วยงานในโซ่อุปทาน ต่างคนต่างทำ ต่างคนต่างตัดสินใจ ไม่ทำงานเป็นทีมและข้อมูลความต้องการของลูกค้า ไม่สามารถไหลมาถึงปลายทางภายในองค์กรได้...
คุณเคยเจอปัญหาแบบนี้หรือไม่ ระบบการจัดเก็บข้อมูลผิดพลาด เช็คในคอมฯมี ไปดูจริงไม่มี หรือไปดูในคอมฯไม่มี ดันเดินไปเจอ ถ้าเกิดปัญหาประเภทนี้ คือ การบันทึกกับของจริงไม่ตรงกัน ซึ่งมักจะเกิดขึ้นจาก การไม่บันทึกลงระบบ หรือเพราะความเคยชิน ว่าเดี๋ยวก่อน เดี๋ยวค่อยทำ สักพักก็ลืม ซึ่งจากปัญหาดังกล่าว เราสามารถที่จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Cycle Counting หรือการตรวจนับตามรอบ หลักการง่ายๆ ที่ให้ทำ คือ Pareto ถ้าสินค้ามีมูลค่ามากก็ตรวจนับให้ถี่ (รายสัปดาห์) ส่วนสินค้าที่มีมูลค่าน้อย แต่มีปริมาณมาก ก็อาจจะไม่ต้องถี่มากนัก แต่โดยหลักการของวิธี CYCLE COUNTING จะมีอยู่ 5 ข้อ...
Logistic Performance Index (LPI) หรือดัชนีชี้ประสิทธิภาพทาง Logistic : เป็นการสร้างดัชนีชี้วัด เพื่อวัดว่าเราปฏิบัติงานหรือระบบทาง logistic ว่ามีประสิทธิภาพในระดับไหน มีจัดทั้งในระดับประเทศและระดับโลก หน่วยงานกำหนดในระดับโลก คือ World Bank ซึ่งจะจัดลำดับโลก ดูระบบ Logistic ในระดับโลก ประเทศไหนมีศักยภาพมากน้อยแค่ไหน โดย LPI Criteria Factor ประกอบด้วย 6 ปัจจัย
จากหลักการของ Michael E.Porter ในเรื่อง Competitive Advantage (Cost Leader, Differentiate, Focus)ที่เราจะนำมาปรับใช้ในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับ Logistic (โดยหลักๆ จะใช้ 2 ข้อ คือ Differentiate และ Leader Cost)
ประกอบด้วย
1.ภารกิจในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการไทยในการเก็บเกี่ยวมูลค่าเพิ่มจากโซ่อุปทาน (Supply chain enhancement)
2.ภารกิจในการยกระดับประสิทธิภาพระบบอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation Enhancement)
3.ภารกิจในการพัฒนาปัจจัยสนับสนุน(Capacity Building and Policy Driving Factors) (รายละเอียดยุทธศาสตร์ อ่านต่อด้านล่างครับ)
โดยทั้ง 3 ภารกิจดังกล่าว มีแผนการดำเนินงานตาม 7 ยุทธศาสตร์ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการโซ่อุปทาน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมธุรกิจการค้าและบริการในพื้นที่เมืองชายแดน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบริการขนส่งและเครือข่ายโลจิสติกส์ตามเส้นทางยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้า
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการพัฒนาบริการและขยายเครือข่ายของผู้ให้บริการโลจิสติกส์
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ปรับปรุงระบบการพัฒนา และจัดการกำลังคน (Human resource development system)
ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลเพื่อการปรับปรุงตนเอง (Monitoring system for self improvement) และสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กร/เครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
6. การบริหารการเงินใน Logistics (Financial Management in Logistics)
เวลาเราจะมองทางด้านการเงินนั้น เริ่มแรกเลยจะมองไปที่ ROI (Return on Investment) ผลตอบแทนการลงทุน ซึ่งจะมีอยู่ 2 ฝั่ง ฝั่ง return และฝั่ง Investment ซึ่งไอ้ตัว Return เราก็มองได้ง่ายๆว่า ลงทุนอะไรก็มองไปที่กำไรเป็นตัวตั้ง ส่วนเงินลงทุน คือ Capital เพราะฉะนั้น จับกำไรหารด้วย Capital ก็คือ ROI นั่นเอง แล้วในการทำ Logistic จะทำอย่างไร ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนดีขึ้น ซึ่งเราจะแยกพิจารณออกตาม ส่วนประกอบของ ROI จากที่กล่าวไว้ในข้างต้น คือ...
7. Logistic Cost
ในต้นทุน Logistic 100% ของประเทศไทย มีต้นทุนค่าขนส่งถึง 53% (ปี 48-49) หรือถ้าเราจะศึกษาแนวโน้ม Logistic cost ในอนาคต โดยพิจารณาจาก อัตราการเดิบโตของ GDP และอัตราการเติบโตของต้นทุน Logistic ของ USA ตั้งแต่ปี 2002-2005 การเติบโตของ GDP จะมากกว่า Logistic Cost แต่พอปี 2005 ถึงปัจจุบัน การเติบโตของ Logistic Cost เติบโตมากกว่า GDP จะเห็นได้ว่า ต้นทุน Logistic มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้น เกิดอะไรขึ้น?...
8. ประสิทธิภาพด้านการขนส่ง (Logistic Efficiency)
การที่ทำให้ระบบการขนส่ง เกิดประสิทธิภาพขึ้นนั้น จะขึ้นอยู่กับบุคคลากรในสายงาน Logistics ที่ควรจะต้องปฏิบัติ คือ 6 RIGHT และ 6 PERFECT นอกจากนี้ ประสิทธิภาพด้านการขนส่ง จะเกิดขึ้นจาก
การใช้สินทรัพย์ที่เรามีอยู่อย่างคุ้มค่า บริหารรถ, พื้นที่ที่เก็บสินค้า เพื่อเพิ่มพื้นที่จัดเรียงให้มากขึ้น ในพื้นที่เท่าเดิม, บริหารเส้นทางเพื่อลดระยะทาง, ลดต้นทุน การดำเนินงาน, ใช้ทรัพย์สิน อย่างคุ้มค่า ถึงแม้ทรัพย์สินจะลดลง, ตกลงอะไรกับลูกค้ามาแล้ว ให้บริการเขาได้ครบหรือไม่, สร้างความพึงพอใจให้เกิดกับลูกค้า...
9. KPI for Logistic
การจัดตั้ง KPI ในแต่ละธุรกิจจะขึ้นอยู่กับตัวธุรกิจ และความต้องการของลูกค้า (ที่เราไปตกลงกับเขาไว้) เราจะตั้งอย่างไร เช่น การตั้ง KPI ในเรื่องอุบติเหตุที่จะลดให้เป็น 0 มันเป็นไปไม่ได้ เราควรจะตั้ง KPI เพื่อลดอุบัติเหตุที่กระทบกับลูกค้าให้เป็น 0 จะเหมาะสมกว่า ซึ่งเมื่อเราตั้ง KPI แล้วจะเกิด 2 มุมมอง หนึ่งคือ มุมทำสำเร็จ : เราควรจะกลับมาตั้งคำถามใหม่ว่า ควรทำให้ดีกว่านี้หรือไม่ หรือ สองมุมทำไม่สำเร็จ : หาสาเหตุ โดยจะมีหลักในการนำ KPI ไปใช้ใน Logistic คือ PICNIC...
10. E - LOGISTICS
ทำไม E Logistics ถึงมีความสำคัญ ??? 1. เนื่องจากขบวนการ Logistic มันยุ่งวุ่นวายมาก เราจึงต้องใช้ระบบ IT เข้ามาเพื่อทำให้ทุกขึ้นตอนเห็นชัด 2. คนทำ Logistics จะเน้นข้อมูลมาก 3. กิจกรรมต่างๆ ของ Logistics มีมาก ซึ่งมันจะต้องสามารถควบคุมและ Monitor ได้ 4. ถ้าลูกค้าถามมา สามารถตอบได้ว่าของอยู่ตรงไหน เมื่อไหร่จะถึง แล้วระบบ E-Logistics มีอะไรบ้างที่ใช้งานอยู่ มีอยู่ 7 ระบบ คือ PMS, WMS, PhMS, CMS, SMS, MMS และ LMS ...
11. ปรากฏการณ์แส้ม้า (Bullwhip Effect in Supply Chain)
12. Cycle Counting กับการแก้ปัญหา Logistic
คุณเคยเจอปัญหาแบบนี้หรือไม่ ระบบการจัดเก็บข้อมูลผิดพลาด เช็คในคอมฯมี ไปดูจริงไม่มี หรือไปดูในคอมฯไม่มี ดันเดินไปเจอ ถ้าเกิดปัญหาประเภทนี้ คือ การบันทึกกับของจริงไม่ตรงกัน ซึ่งมักจะเกิดขึ้นจาก การไม่บันทึกลงระบบ หรือเพราะความเคยชิน ว่าเดี๋ยวก่อน เดี๋ยวค่อยทำ สักพักก็ลืม ซึ่งจากปัญหาดังกล่าว เราสามารถที่จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Cycle Counting หรือการตรวจนับตามรอบ หลักการง่ายๆ ที่ให้ทำ คือ Pareto ถ้าสินค้ามีมูลค่ามากก็ตรวจนับให้ถี่ (รายสัปดาห์) ส่วนสินค้าที่มีมูลค่าน้อย แต่มีปริมาณมาก ก็อาจจะไม่ต้องถี่มากนัก แต่โดยหลักการของวิธี CYCLE COUNTING จะมีอยู่ 5 ข้อ...
13. Logistic Performance Index (LPI)
Logistic Performance Index (LPI) หรือดัชนีชี้ประสิทธิภาพทาง Logistic : เป็นการสร้างดัชนีชี้วัด เพื่อวัดว่าเราปฏิบัติงานหรือระบบทาง logistic ว่ามีประสิทธิภาพในระดับไหน มีจัดทั้งในระดับประเทศและระดับโลก หน่วยงานกำหนดในระดับโลก คือ World Bank ซึ่งจะจัดลำดับโลก ดูระบบ Logistic ในระดับโลก ประเทศไหนมีศักยภาพมากน้อยแค่ไหน โดย LPI Criteria Factor ประกอบด้วย 6 ปัจจัย
คนที่ทำธุรกิจแล้วต้องมีการขนส่งสินค้าเข้ามาเกี่ยวข้อง อาจจะงงหรือสับสนในการทำ Logistic บ้าง ยกตัวอย่างข้อแรก Logistic และ โซ่อุปทาน (Supply Chain) มันแตกต่างกันอย่างไร ที่จริงแล้วโซ่อุปทาน (Supply Chain) จะครอบคลุมกว้างกว่า Logistic แต่แท้จริงเราไม่จำเป็นต้องแยก หรือหาความแตกต่าง เพราะทั้งสองคำมันเกื้อกูลกันอยู่แล้ว เพื่อทำให้ประสิทธิภาพของ Logistic ดีขึ้นนั่นเอง
15. สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับ Logistic (Logistic Competitive Advantage)
จากหลักการของ Michael E.Porter ในเรื่อง Competitive Advantage (Cost Leader, Differentiate, Focus)ที่เราจะนำมาปรับใช้ในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับ Logistic (โดยหลักๆ จะใช้ 2 ข้อ คือ Differentiate และ Leader Cost)
* แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2556-2560)
ประกอบด้วย
1.ภารกิจในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการไทยในการเก็บเกี่ยวมูลค่าเพิ่มจากโซ่อุปทาน (Supply chain enhancement)
2.ภารกิจในการยกระดับประสิทธิภาพระบบอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation Enhancement)
3.ภารกิจในการพัฒนาปัจจัยสนับสนุน(Capacity Building and Policy Driving Factors) (รายละเอียดยุทธศาสตร์ อ่านต่อด้านล่างครับ)
โดยทั้ง 3 ภารกิจดังกล่าว มีแผนการดำเนินงานตาม 7 ยุทธศาสตร์ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการโซ่อุปทาน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมธุรกิจการค้าและบริการในพื้นที่เมืองชายแดน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบริการขนส่งและเครือข่ายโลจิสติกส์ตามเส้นทางยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้า
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการพัฒนาบริการและขยายเครือข่ายของผู้ให้บริการโลจิสติกส์
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ปรับปรุงระบบการพัฒนา และจัดการกำลังคน (Human resource development system)
ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลเพื่อการปรับปรุงตนเอง (Monitoring system for self improvement) และสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กร/เครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
Comments
Post a Comment